การดำเนินงานเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง ในเขตพื้นที่ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง โดย นพ.ปรเมษฐ์ กิ่งโก้ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดระยอง
คำขวัญประจำจังหวัดระยอง ผลไม้รสล้ำ อุตสาหกรรมก้าวหน้า น้ำปลารสเด็ด เกาะเสม็ดสวยหรู สุนทรภู่กวีเอก
ปัญหาที่ผ่านมาของจังหวัด เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง เป็นปัญหาอันดับต้นๆ ของจังหวัด ขาดแคลนบุคลากร แพทย์ ระบบนัด นัดทีเดียวทั้งอำเภอ ระบบข้อมูลประสาน ผู้ป่วย/ญาติมีส่วนร่วมน้อย มีผู้ป่วยมาก รพ.มีความแออัด ชุมชนมีส่วนร่วมน้อย
4L’s & KMP KI KCA KO KCR KA KS L L.Methodology IT เอกสาร L.Environment บรรยากาศ สนุก จูงใจ L.Communities L. Opportunity สร้างโอกาส เวที พบปะกันเอง ภายนอก รวมเรื่องดีๆ คนดีๆ ข่าวดีๆ
แรงจูงใจมันไม่ได้ดังใจ 1:500 1:5 DE อสม.DM 1.Team ขึ้นทะเบียนเรื่องดี ๆ IT 2.Data จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน 3.Community Network ผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยงไม่นาเบื่อ จนท.ภูมิใจ ชื่นชม แรงจูงใจ 4.Environment สม่ำเสมอ เวที 5. Oppoturnity พอเพียง : พออยู่ พอกิน สหกรณ์ เครือข่าย DM : เริ่มทำดีกว่าไม่ได้ทำ ทำแล้วก็ทำให้ดีกว่าที่ทำอยู่ ทำดีแล้วก็รวมกลุ่มกัน เตรือข่ายสร้างสรรค์ความรู้
การดำเนินงาน คณะกรรมการจังหวัด คณะกรรมการอำเภอ คณะกรรมการตำบล คณะกรรมการหมู่ 1 คณะกรรมการหมู่ 2 คณะกรรมการ หมู่ 3 คณะกรรมการ หมู่ 4
กิจกรรม 3 C C = Class C = Club C = Camp
บันไดของการพัฒนางาน ระดับหมู่บ้าน ระดับโรงพยาบาล . ระดับหมู่บ้าน ระดับPCU ระดับโรงพยาบาล ปี............................. ปี............................. ปี.............................
แผนชุมชน – บริการในชุมชน กลุ่มเสี่ยง – เครือข่าย 1:5- 1: 10 กลุ่มดี, พอใช้, ปรับปรุง -ชมรมDM /HT -เพื่อนเตือนเพื่อน ชุมชน/อปท. KM KM DM/HT TEAM จำนวนทีม พยาบาล 1 คน: ผู้ป่วย DM/HT....คน ระบบบริการ ผู้ป่วย/ญาติ คกก., ข้อมูล, CPG ทีม, วิชาการ, 3C One stop service CUP/PCU ต้นแบบ -มหกรรม KM ระบบนัด ระบบเยี่ยมบ้าน -ส่งเสริมวิทยากร หลักการทำงาน
การดูแลผู้ป่วยDM/HTในชุมชน สนับสนุนการดูแลตนเองที่ชุมชน สนับสนุนเครื่องเจาะน้ำตาล สนับสนุนเครื่องวัดความดัน คัดเลือกเป็นวิทยากรกลุ่มในชุมชน 1:5 – 1:10 ดี รับยาในชุมชน พอใช้ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน ปรับปรุง พบทีมสหสาขาวิชาชีพ/เข้ากลุ่ม EMS
ความสำเร็จการดูแล DM ความสำเร็จการดูแล DM ระบบบริการ นโยบาย -ทีม องค์กร แรงจูงใจ เครือข่าย นิเทศติดตาม -ระบบ -ทีม -ชุมชน
กิจกรรม ค้นหาให้เร็ว แยกกลุ่มให้ถูก แก้ไขได้ไว ลดป่วย/ ลดเงิน/ ลดงาน อสม./ แกนนำ ค้นหาให้เร็ว คัดกรองให้เสร็จในไตรมาสแรก ป้องกัน ปกติ ปรับพฤติกรรม แยกกลุ่มให้ถูก เสี่ยง ดูแลรักษา ป่วย แก้ไขได้ไว ลดป่วย/ ลดเงิน/ ลดงาน
พัฒนาคลินิกระดับ PCU/ สอ. กิจกรรม อบรมบุคลากรทุก PCU/ สอ. กิจกรรมครอบคลุม เพื่อนช่วยเพื่อน * ดี * ปานกลาง * ปรับปรุง พัฒนาคลินิกระดับ PCU/ สอ. ลดความแออัดของ ร.พ. ลดค่าใช้จ่าย
สิ่งดีๆ แบ่งปัน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ เวทีประกวด Best Practice กิจกรรม สิ่งดีๆ แบ่งปัน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ KM เวทีประกวด Best Practice เครือข่าย จังหวัด อำเภอ โซน
การจัดการความรู้เบาหวาน-ความดัน “การทำเรื่องนี้ต้องมีเครือข่าย ปีหน้าก็จัดเวทีมาแลกเปลี่ยนกันอีก จะทำให้ไม่โดดเดี่ยว มีกำลังใจในการดำเนินงาน”
ต้องparadigm shift ก่อน บางคนคิดว่าเป็นเรื่องของหมอ “การแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างแรก ต้องparadigm shift ก่อน บางคนคิดว่าเป็นเรื่องของหมอ ถ้าพึ่งหมอเมื่อไหร่เป็นจบกัน”
“เจ้าหน้าที่อนามัยมักคิดว่าเป็น เรื่องที่ตนเองทำไม่ได้ ความจริง อยู่ที่การจัดระบบ ต้องมี การสร้างเครือข่าย”
“การทำเรื่องนี้จะเกิดขึ้นได้อยู่ที่ระบบบริหาร จัดการ ให้ชาวบ้านมีส่วนร่วม Setระบบ ตั้งแต่ระดับจังหวัดลงมา”
อยากเห็นชาวบ้านขึ้นเวทีเล่า เรื่องการดูแลตนเองที่ดีบ้าง” “วันนี้ทุกคนมาเล่าเรื่องดี ๆ ในการทำงานเบาหวาน อยากเห็นชาวบ้านขึ้นเวทีเล่า เรื่องการดูแลตนเองที่ดีบ้าง”
“ต่อไปพวกเราจะมาพบกัน ทุกปี คนทำงานจะได้มี กำลังใจ ไม่เบื่อ และขอให้ทุกคน มีความสุขกันการทำ KM ในวันนี้ สวัสดี”
ข้อเสนอแนะด้านงบประมาณ 1. ระบบข้อมูลเชื่อมต่อกับ HCIS มบ. ต. อ. จ. พร้อมการวิเคราะห์ 2. การคัดกรองจ่ายเป็น rate - 60 - 70 % - 71 - 80 % - มากกว่า 80 %
ข้อเสนอแนะด้านงบประมาณ 3. ระบบบริหารจัดการระดับจังหวัด/คปสอ./ตำบล/อปท. 4. พัฒนาบุคลากร พยาบาล DE บุคคลต้นแบบในชุมชน วิทยากรในชุมชน 5. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง 6. ระบบสนับสนุน Lab 7. จ่ายตามผลลัพธ์ เช่น % การคัดกรอง % ของการดูแลตนเองที่ดีขึ้น การลดลงของภาวะแทรกซ้อน
สวัสดีทุกท่านครับ.... นพ.ปรเมษฐ์ กิ่งโก้ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดระยอง