มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดปราจีนบุรี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
สวัสดีครับ.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
A man’s dreams are an index to his greatness การสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การพัฒนาเด็กจังหวัดอุดรธานี มีโภชนาการสมวัย.
Strategic Route Map (SRM) ประยุกต์จากแนวทางของ นายแพทย์อมร นนทสุต
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มีมาตรการดูแลสุขภาพแม่และเด็กในชุมชน
วัยรุ่นมีพฤติกรรมที่เหมาะสม หญิงตั้งครรภ์มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายด้านบริหาร.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น ผังจุดหมายปลายทาง วัยรุ่นมีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม จังหวัดกาฬสินธุ์ ภายในปี พ.ศ. 2554 – 2557 (4ปี)กำหนดวันที่ 13 มกราคม 2554 มุมมองประชาชน มีกิจกรรมฝึกทักษะการใช้เวลาว่างสำหรับ วัยรุ่นในชุมชน มีศูนย์เรียนรู้ศาสนาที่ถูกต้องในหมู่บ้าน ครอบครัวและชุมชนมีความตระหนักในด้าน อารมณ์และจิตใจของวัยรุ่น มีโครงการจิตอาสาในชุมชน มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น มุมมองภาคี - มีหน่วยภาคีเครือข่ายร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงานเพื่อลดปัญหาเด็กติดเกม - เด็กและเยาวชนมีทักษะชีวิตและดำรงชีวิตในโลกของการเปลี่ยนแปลง - มีการปลูกฝังเด็กและเยาวชนให้มีจิตสำนึกรักกาฬสินธุ์ - สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรเรื่องเพศศึกษารอบด้าน - มีการจัดกิจกรรมด้านคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับเด็กและเยาวชนทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา มุมมองกระบวนการ - มีระบบประชาสัมพันธ์ - มีคลินิกวัยใส - มีระบบส่งต่อ - มีภาคีเครือข่ายและระบบประสานงาน - มีการกำหนดตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ของงาน มุมมองพื้นฐาน - มีผู้บริหารที่ให้การยอมรับและสนับสนุน - มีเจ้าหน้าที่มีความเชี่ยวชาญและทัศนคติที่ดีต่อการ ปฏิบัติงาน มีระบบข้อมูลที่มีคุณภาพ (คน การจัดเก็บ ความครบถ้วน) - มีการทำงานเป็นทีมและการทำงานอย่างมีความสุข - มีการสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน

         (Evaluation) แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM)การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดกาฬสินธุ์ พ.ศ. 2554-2557 (ณ วันที่ 13 มกราคม 2554) ชุมชนมีกิจกรรมฝึกทักษะการใช้เวลาว่างสำหรับวัยรุ่นอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมทักษะการสร้างและซ่อมแซมสิ่งของเครื่องใช้ภายในบ้าน ส่งเสริมให้วัยรุ่นมีส่วนร่วมในวัฒนธรรมประเพณีในชุมชน จัดตั้งชมรมกลุ่มวัยรุ่นในชุมชน หมู่บ้านมีศูนย์เรียนรู้ศาสนาที่มีไว้ศึกษาอย่างถูกต้อง ส่งเสริมให้มีศูนย์เรียนรู้ทางศาสนาในหมู่บ้าน ส่งเสริมให้วัยรุ่นมีกิจกรรมในศูนย์เรียนรู้ จัดเวทีเสวนาการเรียนรู้จากศาสนา ชุมชนมีโครงการจิตอาสาอย่างต่อเนื่อง พัฒนาโครงการจิตอาสาในท้องถิ่น จัดอบรมให้วัยรุ่นตระหนักในการมีจิตสาธารณะ จัดตั้งชมรมจิตอาสาวัยรุ่น วัยใส ครอบครัวและชุมชนมีความตระหนักในด้านอารมณ์และจิตใจของวัยรุ่นที่ถูกต้อง ส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลวัยรุ่น สนับสนุนให้ครอบครัวและวัยรุ่นมีกิจกรรมร่วมกันในชุมชน สนับสนุนการมีครอบครัวตัวอย่างในชุมชน ชุมชนมีกระบวนการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่นอย่างต่อเนื่อง -ส่งเสริมให้มีการอบรมป้องกันการมีพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น สนับสนุนการไปศึกษาดูงานในด้านการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น สนับสนุนให้เกิดกระบวนการการให้คำปรึกษาอย่างมีคุณภาพ มุมมองประชาชน (Evaluation)    ภาคีเครือข่ายจัดกิจกรรมด้านคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับเด็กและเยาวชนอย่างต่อเนื่อง พัฒนาศักยภาพแกนนำ/บุคลากรที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนงบประมาณในการจัดทำโครงการด้านคุณธรรมและจริยธรรม บูรณาการการดำเนินงานร่วมกันระหว่างภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง พัฒนามาตรการในการติดตามประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เด็กและเยาวชนในจังหวัดกาฬสินธุ์มีทักษะชีวิตที่ดี ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจด้านทักษะชีวิตในเด็กและเยาวชนอย่างถูกต้องเหมาะสม สร้างแกนนำเด็กและเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อให้มีทักษะชีวิตที่ดี เสริมสร้างภูมิคุ้มกันด้านทักษะชีวิตแก่เด็กและเยาวชน ภาคีเครือข่ายร่วมปลูกฝังเด็กและเยาวชนให้มีจิตสำนึกรักกาฬสินธุ์ ส่งเสริมการมีจิตสำนึกรักบ้านเกิด บูรณาการทำงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวช้อง สนับสนุนให้มีพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเด็กและเยาวชนเพื่อสำนึกรักบ้านเกิด ภาคีเครือข่ายร่วมขับเคลื่อนการดำเนินเพื่อลดปัญหาเด็กติดเกมอย่างเข้มแข็ง บูรณาการการดำเนินการร่วมกันระหว่างภาคีเครือข่ายเพื่อลดปัญหาเด็กติดเกม พัฒนาระบบเฝ้าระวังการลดปัญหาเด็กติดเกมอย่างต่อเนื่องและเข้มงวด ส่งเสริมด้านดนตรี กีฬา นันทนาการในเด็กและเยาวชน พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานระหว่างหน่วยงาน สถานศึกษาจัดหลักสูตรเรื่องเพศศึกษารอบด้านอย่างครอบคลุมทุกแห่ง เพิ่มสถานศึกษาให้มีการจัดหลักสูตรเรื่องเพศศึกษารอบด้านให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ บูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมสถานศึกษาที่จัดกิจกรรมด้านหลักสูตรเพศศึกษาดีเด่น มุมมองภาคี (Stakeholder)    คลินิกวัยใสในสถานบริการมีมาตรฐาน จัดตั้งคลินิกวัยใสตามมาตรฐาน พัฒนาระบบบริการในคลินิก สร้างระบบการประชาสัมพันธ์คลินิกวัยใสที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ระบบติดตามประเมินผลที่มีคุณภาพ กำหนดตัวชี้วัดที่ชัดเจน สร้างระบบควบคุมการติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ ปรับปรุงส่วนขาด/ข้อจำกัดที่ได้จากผลการประเมิน ระบบประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ สร้างสื่อประชาสัมพันธ์ พัฒนาสื่อที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์เชิงรุก ระบบส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาโครงสร้างระบบส่งต่อ/บุคลากร เสริมสร้างระบบส่งต่อให้เข้มแข็งในพื้นที่ สนับสนุนทรัพยากรในระบบส่งต่อ (4M) การประสานงานกับภาคีเครือข่ายอย่างเข้มแข็ง สร้างภาคีเครือข่ายให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ กำหนดโครงสร้างและบทบาทหน้าที่ร่วมกัน สร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย บูรณาการงานตามแผนงานโครงการ มุมมองกระบวนการ (Management)    ทีมงานมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน พัฒนาทีมงานแบบบูรณาการโดยสหวิชาชีพ ส่งเสริม/สนับสนุนทีมสหวิชาชีพ สร้างระบบจูงใจที่เป็นธรรม เจ้าหน้าที่มีทัศนคติที่ดีและปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ พัฒนาศักยภาพบุคลากร (อบรม/ประชุม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน) พัฒนารูปแบบและแนวทางการปฏิบัติงาน สร้างนวัตกรรม ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ สร้างเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูล พัฒนาบุคลากรในการจัดเก็บข้อมูล บรรยากาศเหมาะสมต่อการปฏิบัติงาน สร้างบรรยากาศเอื้อต่อการทำงาน สนับสนุน วัสดุ อุปกรณ์ที่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน ปรับกระบวนทัศน์ให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน ผู้บริหารให้การยอมรับและสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง กำหนดนโยบาย/ถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ บูรณาการการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย กำหนดแผนงาน/โครงการการดำเนินงานที่ชัดเจน มุมมองพื้นฐาน (Learning /Development)

(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ฉบับปฏิบัติการ (SLM) เรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จังหวัดกาฬสินธุ์ พ.ศ. 2554-2555 ( 2 ปี) (กำหนดเมื่อ วันที่ 13 มกราคม 2554) วัยรุ่นมีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม ชุมชนมีกระบวนการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่นอย่างต่อเนื่อง มุมมองประชาชน (Evaluation) ชุมชนมีโครงการจิตอาสาอย่างต่อเนื่อง ครอบครัวและชุมชนมีความตระหนักในด้านอารมณ์และจิตใจของวัยรุ่นที่ถูกต้อง ภาคีเครือข่ายร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงานเพื่อลดปัญหาเด็กติดเกมส์อย่างเข้มแข็ง ภาคีเครือข่ายร่วมปลูกฝังเด็กและเยาวชนให้มีจิตสำนึกรักกาฬสินธุ์ มุมมองภาคี (Stakeholder) สถานศึกษาจัดหลักสูตรเรื่องเพศศึกษารอบด้านอย่างครอบคลุมทุกแห่ง ระบบประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ การประสานงานภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็ง มุมมองกระบวนการ (Management) คลินิกวัยใสในสถานบริการมีมาตรฐาน ทีมงานมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ มุมมองพื้นฐาน (Learning /Development) เจ้าหน้าที่มีทัศนคติที่ดีและปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM) เรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จังหวัดกาฬสินธุ์ พ.ศ. 2554 (กำหนด ณ วันที่ 14 มกราคม 2554) (เส้นทางด่วน) วัยรุ่นมีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม มุมมองประชาชน (Evaluation) ชุมชนมีกระบวนการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่นอย่างต่อเนื่อง ครอบครัวและชุมชนมีความตระหนักในด้านอารมณ์และจิตใจของวัยรุ่นที่ถูกต้อง ชุมชนมีโครงการจิตอาสาอย่างต่อเนื่อง ภาคีเครือข่ายร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงานเพื่อลดปัญหาเด็กติดเกมส์อย่างเข้มแข็ง ภาคีเครือข่ายร่วมปลูกฝังเด็กและเยาวชนให้มีจิตสำนึกรักกาฬสินธุ์ มุมมองภาคี (Stakeholder) สถานศึกษาจัดหลักสูตรเรื่องเพศศึกษารอบด้านอย่างครอบคลุมทุกแห่ง ระบบประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ การประสานงานภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็ง มุมมองกระบวนการ (Management) คลินิกวัยใสในสถานบริการมีมาตรฐาน ทีมงานมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ มุมมองพื้นฐาน (Learning /Development) เจ้าหน้าที่มีทัศนคติที่ดีและปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ

แผนปฏิบัติการ (Mini SLM) เรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จังหวัดกาฬสินธุ์ พ.ศ. 2554 (กำหนด ณ วันที่ 14 มกราคม 2554) วัยรุ่นมีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม มุมมองประชาชน (Evaluation) ครอบครัวและชุมชนมีความตระหนักในด้านอารมณ์และจิตใจของวัยรุ่นที่ถูกต้อง หน่วยงานภาคีเครือข่ายร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงานเพื่อลดปัญหาเด็กติดเกมส์อย่างเข้มแข็ง ภาคีเครือข่ายร่วมปลูกฝังเด็กและเยาวชนให้มีจิตสำนึกรักกาฬสินธุ์ มุมมองภาคี (Stakeholder) สถานศึกษาจัดหลักสูตรเรื่องเพศศึกษารอบด้านอย่างครอบคลุมทุกแห่ง มุมมองกระบวนการ (Management) คลินิกวัยใสในสถานบริการมีมาตรฐาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ มุมมองพื้นฐาน (Learning /Development) เจ้าหน้าที่มีทัศนคติที่ดีและปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ