หลักเกณฑ์การจัดสรร งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Health Promotion & Prevention
Advertisements

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
การจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ ในเขตสุขภาพ
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ปีงบประมาณ 2555 ชี้แจงงบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการ ปฐมภูมิ (On top payment) ปีงบประมาณ 2555.
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การติดตามประเมินผล ปี 2552
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักเกณฑ์การจัดสรร งบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557 ศรีสุรางค์ ดวงประเสริฐ กลุ่มงานประกันสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก

การบริหาร งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557 (1) NPP & Central procurement (23 บ./คน) (3) P&P Basic Services (192 บ./คน) (2) P&P Area Health services (66.38 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.50 บ./คน) หน่วยบริการ/อปท.,/ หน่วยงานต่างๆ P&P Capitation ( 288.88 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 64.871 ล้านคน) คำนวณจาก 383.61 บาท/ปชก.UC 48.852 ล้านคน P&P Dental (10 บ./คน) กองทุนฯท้องถิ่น (40+5 บ./คน) หักเงินเดือน Capitation +workload (162 บ./คน) Quality Performance (20 บ./คน) เขต/จังหวัด (21.38 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น) กรณี สปสช.เขต 13 (กรุงเทพมหานคร) ให้สามารถบูรณการการบริหารงบ (2) และ (3) เพื่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ตามที่กำหนด เนื่องจากไม่มีสาขาจังหวัดและบริบทพื้นที่แตกต่าง

ความเป็นมา กรอบแนวคิดหลักการบริหารค่าบริการP&P กรอบการบริหารค่าใช้จ่ายเพื่อ บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ทั้งที่ เป็นปัญหาความสำคัญในระดับ ประเทศ/เขต/ จังหวัด/หน่วยบริการ/ชุมชน และนโยบายที่ เน้นหนักของ รัฐบาล สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ P&P ผู้ดำเนินการจัดบริการจะเป็นหน่วยบริการ สถานพยาบาล หน่วยงาน องค์กรต่างๆ และ ชุมชน ทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีการจัดบริการ P&P กระจายอำนาจการบริหารจัดการให้ระดับเขตและ จังหวัด ประสานร่วมมือกับกระทรวงสาธารณสุข National Health Security Office , Thailand

การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557 วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดระดับประเทศ เพื่อเพิ่มการเข้าถึง บริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามสิทธิ ประโยชน์ของแต่ละกลุ่ม วัย เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงทาง สุขภาพ อัตราป่วย และอัตราตายที่เป็น ปัญหาสำคัญของ ประเทศ ยึดตัวชี้วัดและเป้าหมาย P&P ที่ กระทรวงสาธารณสุข กำหนดเฉพาะ ที่ เกี่ยวข้องกับบริการ รายบุคคลและครอบครัว ภายใต้ชุดสิทธิประ โยชน์ในระบบหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ ตัวชี้วัดที่กำหนดตาม ยุทธศาสตร์และสิทธิ ประโยชน์ของสำนักงาน หลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ

การบริหาร งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557 (1) NPP & Central procurement (23 บ./คน) (3) P&P Basic Services (192 บ./คน) (2) P&P Area Health services (66.38 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.50 บ./คน) หน่วยบริการ/อปท.,/ หน่วยงานต่างๆ P&P Capitation ( 288.88 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 64.871 ล้านคน) คำนวณจาก 383.61 บาท/ปชก.UC 48.852 ล้านคน P&P Dental (10 บ./คน) กองทุนฯท้องถิ่น (40+5 บ./คน) หักเงินเดือน Capitation +workload (162 บ./คน) Quality Performance (20 บ./คน) เขต/จังหวัด (21.38 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น)

การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557 ส่วนที่ (1) P&P ที่บริหารระดับประเทศ 23 บาท/คน วัตถุประสงค์ เพื่อจัดหา กระจายเวชภัณฑ์และเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา และวัสดุให้แก่หน่วยบริการและหน่วยงาน เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่สำคัญต่อการป้องกันหรือลดทอนปัญหาสาธารณสุขหรือภาระโรคที่สำคัญของประเทศ

(1.1) Central Procurement 19.15 บาท/คน การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557 ส่วนที่ (1) P&P ที่บริหารระดับประเทศ 23 บาท/คน (1.1) Central Procurement 19.15 บาท/คน เกณฑ์การจ่าย ค่าวัคซีน EPI ค่าวัคซีน&การจัดการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ค่าสมุดบันทึกสุขภาพมารดาทารก สมุดบันทึกสุขภาพนักเรียน การบริหารจัดการ สำนักงานจัดหาและกระจายวัคซีนโดยผ่านระบบVMI ของอภ. สำนักงานสนับสนุนกรมอนามัยจัดพิมพ์และกระจายสมุดบันทึก การสนับสนุน/ การจ่าย หน่วยบริการเบิกวัคซีน(ผ่านระบบVMI)และสมุดบันทึก(จากกรมอนามัย)ตามที่ ให้บริการจริง หน่วยบริการรับค่าบริการเพิ่มเติมกรณีฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ (20/15 บาท/คน) โดยต้องส่งข้อมูลบริการผ่านโปรแกรม สำนักงานจัดสรรค่าการจัดการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ผ่านสาขาเขต ให้สาขา จังหวัดเพื่อจัดการให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการ และกำกับติดตาม ผู้รับค่าใช้จ่าย หน่วยบริการ สถานพยาบาลที่สมัครเข้าร่วมโครงการ และหน่วยงาน

(1.2) National priority Programs 3.85 บาท/คน การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557 ส่วนที่ (1) P&P ที่บริหารระดับประเทศ 23 บาท/คน (1.2) National priority Programs 3.85 บาท/คน เกณฑ์การจ่าย ค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นนโยบายและความสำคัญ ระดับชาติ ตามแนวทางที่เห็นชอบโดยคณะ อนุกรรมการ P&P กรอบกิจกรรม การตรวจยืนยันโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียทุกขั้นตอนในคู่เสี่ยง กิจกรรมที่จะกำหนดเพิ่มเติมโดยความเห็นชอบของคณะอนุกรรมการP&P ซึ่ง จะประกาศให้ทราบภายหลัง การบริหารจัดการ สำนักงานบริหารจัดการและจ่ายค่าบริการตามกิจกรรมและแนวทางที่เห็นชอบ โดยคณะอนุกรรมการP&P การสนับสนุน/การ จ่าย หน่วยบริการรับค่าบริการชดเชยหรือเพิ่มเติมตามกิจกรรมที่กำหนด โดยต้องส่ง ข้อมูลตามที่กำหนด ผู้รับค่าใช้จ่าย หน่วยบริการ/สถานพยาบาลที่สมัครเข้าร่วมโครงการ หน่วยงานและองค์กรอื่น

การบริหาร งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557 (1) NPP & Central procurement (23 บ./คน) (3) P&P Basic Services (192 บ./คน) (2) P&P Area Health services (66.38 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.50 บ./คน) หน่วยบริการ/อปท.,/ หน่วยงานต่างๆ P&P Capitation ( 288.88 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 64.871 ล้านคน) คำนวณจาก 383.61 บาท/ปชก.UC 48.852 ล้านคน P&P Dental (10 บ./คน) กองทุนฯท้องถิ่น (40+5 บ./คน) หักเงินเดือน Capitation +workload (162 บ./คน) Quality Performance (20 บ./คน) เขต/จังหวัด (21.38 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น)

การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557 ส่วนที่ (2) P&P สำหรับระดับพื้นที่ 66 วัตถุประสงค์ เพื่อจัดการให้มีบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเชิงรุก/บริการเสริมแก่ประชาชนทุกสิทธิให้เข้าถึงบริการอย่างครอบคลุมมากขึ้น เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรชุมชน องค์กรเอกชนและภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการแสวงหาผลกำไร เพื่อดำเนินการหรือจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่ประชาชนในพื้นที่

(2.1) กองทุนฯท้องถิ่น (40+5 บาท/คน) การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557 ส่วนที่ (2) P&P สำหรับระดับพื้นที่ 66.38 บาท/คน (2.1) กองทุนฯท้องถิ่น (40+5 บาท/คน) เกณฑ์การจ่าย บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่ดำเนินการในชุมชน ในรูปแบบความร่วมมือ กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามประกาศของคณะกรรมการหลักประ กันสุขภาพ แห่งชาติ โดยจัดสรรให้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ที่มีความ พร้อมในการเข้าร่วมดำเนินงาน จำนวน 40 บาท/คน จ่ายตามจำนวนประชากรไทยในพื้นที่รับผิดชอบ ไม่เกิน 5 บาทต่อคนไทย จ่ายเพิ่มเติมกรณีที่กองทุนฯสามารถดำเนินงานหรือมี คุณสมบัติตามเงื่อนไข หลักเกณฑ์ และอัตราตามที่กำหนด กรอบกิจกรรม กองทุนฯท้องถิ่นดำเนินกิจกรรมภายใต้ประกาศของคณะกรรมการหลักฯ 2552 และที่ ประกาศเพิ่มเติม การบริหารจัดการ สปสช.กำหนดหลักเกณฑ์/เงื่อนไข/ออกประกาศ สปสช.เขตบริหารจัดการให้มีกองทุนและทำงานได้ กำกับติดตาม การสนับสนุน/การจ่าย สปสช.จัดสรรวงเงินตามจำนวนท้องถิ่นที่มีอยู่ในพื้นที่ให้ สปสช.เขตดำเนินการ สาขา เขตเบิกจ่าย 40+5 บาท/คนโอนให้กองทุนฯท้องถิ่น สมทบกับเงินของท้องถิ่นที่สมทบ ตามอัตราที่กำหนด การคำนวณวงเงิน ข้อมูลประชากรทุกสิทธิประกอบด้วย: ผู้มีสิทธิUCจากศูนย์ทะเบียน + จำนวนผู้มีสิทธิ สวัสดิการข้าราชการตามทะเบียนราษฎร์ + ผู้ประกันตนที่ลงทะเบียนกับสถานพยาบาล ในพื้นที่รับผิดชอบของกองทุนฯนั้น + สิทธิว่าง ณ วันที่ 1 กค. 56

(2.2) ส่วนที่เหลือบริหารโดยสาขาเขต/จังหวัด 21.38 บาท/คน การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557 ส่วนที่ (2) P&P บริการระดับพื้นที่ 66.38 บาท/คน (2.2) ส่วนที่เหลือบริหารโดยสาขาเขต/จังหวัด 21.38 บาท/คน เกณฑ์การจ่าย เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นปัญหาเฉพาะพื้นที่หรือตามนโยบายสำคัญ บริการที่ต้องมีการบริหารจัดการในภาพรวมระดับเขตหรือจังหวัด การตามจ่ายค่าบริการแทนหน่วยบริการ การจ่ายเพื่อให้มีทางเลือกในการเข้าถึงบริการ และจ่ายเพื่อจูงใจให้เกิดการบริการที่เพิ่มความครอบคลุมและคุณภาพผลงานบริการ กรอบกิจกรรม การคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/การคัดกรองและตรวจยืนยันภาวะพร่องทัยรอยด์ฮอร์โมนทารกแรกเกิด การบริการP&Pตามเกณฑ์การจ่าย อาทิ -พัฒนาการเด็ก -ทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน -อนามัยมารดา –การตรวจคัดกรองตาต้อกระจก -การจัดบริการเชิงรุกเพื่อให้ผู้ประกันตน/แรงงานนอกระบบ/คนชายขอบเข้าถึงบริการ -การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ -การตามจ่ายระหว่างหน่วยบริการหรือระหว่างจังหวัด -จ่ายให้หน่วยบริการ/สถานพยาบาลอื่นจัดบริการเชิงรุกหรือบริการเสริมเข้าไปในพื้นที่/โรงเรียนหรือสถานประกอบการ -จ่ายให้ภาคประชาชน/องค์กรเอกชนเพื่อจัดบริการสำหรับคนชายขอบหรือจัดบริการเสริมเพิ่มเติมจากปกติ –จ่ายเพิ่มเติมเสริมแรงแก่หน่วยบริการตามตัวชี้วัดผลผลิต/ผลลัพธ์ที่สำคัญของพื้นที่ เป็นต้น ทั้งนี้ต้องเป็นค่าบริการเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการ ให้ความสำคัญกับการสนับสนุนองค์กรเอกชน/ภาคประชาชนดำเนินการหรือจัดบริการ/กิจกรรมP&Pแก่ประชาชนในพื้นที่

(2.2) ส่วนที่เหลือบริหารโดยสาขาเขต/จังหวัด 21.38 บาท/คน การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557 ส่วนที่ (2) P&P บริการระดับพื้นที่ 66.38 บาท/คน (2.2) ส่วนที่เหลือบริหารโดยสาขาเขต/จังหวัด 21.38 บาท/คน การบริหาร จัดการ สปสช.เขตบริการจัดการเป็นGlobal Budgetระดับเขต โดยแนวทางการจ่ายต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. การสนับสนุน/ การจัดสรร/ การโอน สปสช.จัดสรรประมาณ 21.38 บาทตามจำนวนประชากรทุกสิทธิรวมสิทธิว่างให้ สปสช.เขต บริหารจัดการเป็น global budget ระดับเขต สปสช.เขตจัดสรรให้สาขาจังหวัดตามแผนงาน/แผนปฏิบัติการที่ตอบสนองต่อแผนกลยุทธ หรือข้อตกลงร่วมระหว่าง คปสข.กับ สปสช.เขต และสอดคล้องกับแนวทางการจ่ายที่ผ่านความ เห็นชอบจาก อปสข. เพื่อให้สาขาจังหวัดบริหารจัดการ สปสช.เขตสามารถกันเงินจำนวนหนึ่งเพื่อบริหารจัดการเองโดยตรงได้ เงินที่จัดสรรให้สาขาจังหวัดส่วนหนึ่งให้ใช้สำหรับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและการคัด กรองและตรวจยืนยันภาวะพร่องทัยรอยด์ ส่วนที่เหลือสำหรับบริการP&Pตามเกณฑ์การจ่าย สปสช.เขตโอนค่าใช้จ่ายเข้าบัญชี 6 ของสาขาจังหวัดตามที่ตกลง กรณีค่าใช้จ่ายการคัดกรอง มะเร็งปากมดลูกเมื่อสาขาจังหวัดตกลงเป้าหมายกับหน่วยบริการแล้ว สาขาเขตอาจตกลงกับ สาขาจังหวัดเพื่อจ่ายและโอนให้หน่วยบริการโดยตรง การจ่าย/ผู้รับ สปสช.เขต/สาขาจังหวัดจ่ายให้หน่วยบริการ/สถานพยาบาล หน่วยงาน องค์กรหรือบุคคลทั้งภาครัฐ/ภาคเอกชน/ภาคประชาชนเพื่อดำเนินการ ทั้งนี้ไม่จ่ายเพื่อการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการซึ่งสปสช.ได้จัดสรรค่าใช้จ่ายเป็นการเฉพาะให้แก่สปสช.สาขาจังหวัดแล้ว และห้ามจ่ายตามประกาศประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารเงินกองทุนของสำนักงานสาขาจังหวัด พ.ศ.2554 รวมถึงการศึกษาดูงาน การจัดซื้อ/จัดหาที่ดินสิ่งก่อสร้างและครุภัณฑ์

งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับเขตพื้นที่ ตัวอย่างแผนงาน หรือ โครงการ ที่ จัดทำขึ้น โดยไม่ เป็นไปตามประเภทและขอบเขตของบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรค และไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของเงินกองทุน 1. โครงการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภัยพิบัติและภาวะ ฉุกเฉิน 2. โครงการจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพระดับตำบล 3. โครงการเชิงรุกสู่ข้อมูลสุขภาพชุมชน 4. โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข 5. โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ 6. โครงการพัฒนาระบบบริการดูแลผู้สูงอายุและคนพิการ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับเขตพื้นที่ ตัวอย่างแผนงาน หรือ โครงการ ที่ จัดทำขึ้น โดยไม่เป็นไปตาม ประเภทและขอบเขตของบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค และ ไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของเงินกองทุน ( ต่อ ) 7. โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับจังหวัด 8. โครงการประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 9. โครงการพัฒนาทีมปฏิบัติการฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข 10. โครงการจัดกิจกรรมงานวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ 11. โครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย 12. โครงการ To be number one Dance exerciser championship สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

การบริหาร งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557 (1) NPP & Central procurement (23 บ./คน) (3) P&P Basic Services (192 บ./คน) (2) P&P Area Health services (66.38 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.50 บ./คน) หน่วยบริการ/อปท.,/ หน่วยงานต่างๆ P&P Capitation ( 288.88 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 64.871 ล้านคน) คำนวณจาก 383.61 บาท/ปชก.UC 48.852 ล้านคน P&P Dental (10 บ./คน) กองทุนฯท้องถิ่น (40+5 บ./คน) หักเงินเดือน Capitation +workload (162 บ./คน) Quality Performance (20 บ./คน) เขต/จังหวัด (21.38 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น)

การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557 ส่วนที่ (3) P&P สำหรับบริการพื้นฐาน วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนให้หน่วยบริการประจำและเครือข่ายจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่เป็นบริการพื้นฐานสำหรับบุคคลและครอบครัวตามสิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และตอบสนองต่อเป้าประสงค์ ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับเขต/ประเทศ

การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557 ส่วนที่ (3) P&P สำหรับบริการพื้นฐาน กรอบกิจกรรม หน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการให้บริการP&Pตามสิทธิประโยชน์ทั้งเชิงรับและ เชิงรุกในพื้นที่แก่ประชาชนไทยทุกสิทธิ การบริหารจัดการ/การสนับสนุน/การจ่าย (3.1) จ่ายตาม จำนวนประชากร และผลงาน 162 บาท/คน สปสช.คำนวณจ่ายตามผลงานชุดกิจกรรมภายใต้สิทธิประโยชน์แต่ละกลุ่มวัยทุก สิทธิก่อน แล้วนำมาหักจากวงเงินทั้งหมด ส่วนที่เหลือนำมาคำนวณจ่ายตามจำนวน ประชากรทุกสิทธิ แจกแจงการจ่ายเป็นรายหน่วยบริการประจำและภาพรวมจังหวัด สัดส่วนจำนวนเงินระหว่างจ่ายตามผลงานและประชากรประมาณ 40:60 เงินส่วนนี้จะถูกปรับลดค่าแรง (หักเงินเดือน) คณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพ สาขาจังหวัด (อปสจ.) สามารถปรับเกลี่ยเงินระหว่างหน่วยบริการได้ และแจ้ง สปสช. จ่ายตรงให้หน่วยบริการ (3.2) จ่ายทันต กรรมส่งเสริม ป้องกัน 10 บาท/คน จ่ายแก่หน่วยบริการตามจำนวนประชากรทุกสิทธิ แจกแจงเป็นรายหน่วยบริการประจำ และภาพรวมจังหวัด อปสจ.สามารถปรับเกลี่ยได้และแจ้ง สปสช. จ่ายตรงให้หน่วย บริการ (3.3) งบจ่ายตาม เกณฑ์คุณภาพ ผลงานบริการ 20 บาท/คน จัดสรรตามจำนวนประชากรทุกสิทธิ ให้สปสช.เขตบริหารจัดการระดับเขตโดยบูรณา การกับงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ เพื่อจ่ายให้หน่วยบริการ ตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ(QOF)

การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557 ส่วนที่ (3) P&P สำหรับบริการพื้นฐาน การคำนวณวงเงิน กรณีจ่ายตามผลงาน สปสช.ใช้ข้อมูลผลงานจากชุดข้อมูล 21/43 แฟ้มของไตรมาส 3,4 ปีงบประมาณ 55 และไตรมาส 1,2 ปี 56 คูณด้วยต้นทุนบริการรายกิจกรรม (Activity based costing) กรณีตรวจสอบพบว่าหน่วยบริการและเครือข่ายไม่ได้มีผลงานจริง สปสช.จะปรับลด ค่าใช้จ่ายตามผลงานในปีถัดไป ข้อมูลประชากรทุกสิทธิใช้ฐานข้อมูลชุดเดียวกับการจัดสรรให้กองทุนฯท้องถิ่น กรณีประชากรสิทธิสวัสดิการข้าราชการและประกันสังคมโดยปกติไม่ได้ลงทะเบียน กับหน่วยบริการใดในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ วงเงินจำนวนนี้จะจัดสรรกอง ไว้ที่ระดับจังหวัด ให้อปสจ.ปรับเกลี่ยพร้อมกับงบP&Pอื่นให้หน่วยบริการ(รัฐ/เอกชน) ตามเป้าหมาย/กิจกรรมที่ตกลงกัน การโอน งบจ่ายตามประชากรและผลงาน และทันตกรรมส่งเสริมป้องกันโอนเป็นงวดไปพร้อม งบบริการผู้ป่วยนอกทั่วไปและงบบริการผู้ป่วยใน กรณีหน่วยบริการภาครัฐปรับลด ค่าแรงก่อนโอน ส่วนภาคเอกชนโอนให้เต็มจำนวน ผู้รับค่าใช้จ่าย หน่วยบริการประจำและเครือข่าย และสถานพยาบาลที่สมัครเข้าร่วมโครงการ

การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557 ส่วนที่ (4) สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ P&P วัตถุประสงค์ เพื่อกำกับ ติดตามและประเมินผล และมีข้อมูลข่าวสารที่จำเป็น เพื่อพัฒนาระบบ กลไก การจัดการ การจัดบริการ และศักยภาพการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของหน่วยบริการ หน่วยงาน องค์กร/ภาคประชาชนในทุกระดับ

(4) สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ P&P 7.50 บาท/คน การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557 ส่วนที่ (4) สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ P&P (4) สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ P&P 7.50 บาท/คน เกณฑ์การจ่าย/กรอบกิจกรรม การกำกับติดตามและประเมินผล การพัฒนาระบบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ (พัฒนาระบบ กลไกการบริหารจัดการ/การบริการ ศักยภาพบุคลากร ระบบข้อมูลสารสนเทศ) พัฒนาศักยภาพองค์กรเอกชน/ภาคประชาชน และระบบสุขภาพชุมชน(ทั้งนี้ สปสช.เขตต้องให้ความสำคัญ) การสนับสนุน/การจัดสรร/การบริหารจัดการ จัดสรรให้สปสช.เขตไม่น้อยกว่า 6 บาท/คน บริหารจัดการเป็น global budget ระดับเขต โดยหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและอัตราการจ่ายต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. สปสช.เขตจัดสรรให้สาขาจังหวัดตามแผนงาน/แผนปฏิบัติการ และสามารถกันงบจำนวนหนึ่งเพื่อดำเนินการเองได้ การจัดสรรให้สาขาจังหวัดให้บูรณาการไปพร้อมกับงบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการอื่น โดยมุ่งหวังให้เกิดการทำงานแบบบูรณาการ ส่วนที่เหลือบริหารจัดการระดับประเทศโดย สปสช. ผู้รับค่าใช้จ่าย หน่วยบริการ/สถานพยาบาล หน่วยงาน องค์กรหรือบุคคลทั้งภาครัฐ/ภาคเอกชน/ภาคประชาชน

สิ่งที่แตกต่างไปจากเดิม ปี 2556 ปี 2557 PPN -ไข้หวัดใหญ่:กลุ่มเป้าหมาย-ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 โรค ผู้สูงอายุ>65ปี -เพิ่มหญิงตั้งครรภ์>4เดือน เด็ก 6 เดือน-2 ปี PPA -ระบุทิศทางสนับสนุนองค์กรเอกชน/ภาคประชาชนดำเนินการหรือร่วมให้บริการเฉพาะในกองทุนสุขภาพชุมชน -ระบุทิศทางสนับสนุนองค์กรเอกชน/ภาคประชาชนดำเนินการหรือร่วมให้บริการในงบเขต/จังหวัดด้วย PPB -บริหารงบQPเฉพาะ -บริหารงบQPบูรณาการกับการบริหารงบQOFของปฐมภูมิ -รวมทันตกรรรมส่งเสริมป้องกันและระบุจำนวนเงิน DHS -แยกบริหารจัดการ -ย้ายไปอยู่ใต้PPB PPD -ไม่ระบุทิศทาง -จัดสรรเป็นGBให้เขตตามจำนวนประชากรและหน่วยบริการปฐมภูมิ 50:50 -ระบุทิศทางสนับสนุนการพัฒนาองค์กรเอกชน/ภาดประชาชนและระบบสุขภาพชุมชน -จัดสรรเป็นGBเขตตามจำนวนประชากร PPN=PP National program, PPA=PP Area health service, PPB=PP Basic services, DHS=Dental health services, PPD=PP Development

โครงสร้างการจัดสรรเงินและอัตราที่เปลี่ยนไป ปี 2556 ปี 2557 เพิ่ม+/ลด- วงเงินอัตรา 232.36 บาท/คนทุกสิทธิ 288.88 บาท/คนทุกสิทธิ +56.53 PPN 25.72 23 -2.72 PPA 57.40 66.38 +8.98 -Local Fund 40 45 +5 -Region/Province 17.40 21.38 +3.98 PPB 124.96 192 +67.04 -Cap+Workload 99.96 162 +62.04 -QP 25 20 -5 -DHS - 10 +10 DHS 16.60 ย้ายไปอยู่ใต้ PPB -16.60 PPD 7.68 7.50 -0.18