เทคนิคการจัดเวทีประชาคม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

การสอนงาน (Coaching) Internal Training & Coaching
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
หน้าที่ของผู้บริหาร.
รายงานการวิจัย.
การติดต่อสื่อสาร สร้างสรรค์ประโยชน์ สร้างความประทับใจที่ดี
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
วิธีการทางสุขศึกษา.
เทคนิคการนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ “เกม” (Game)
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
สื่อการเรียนการสอน.
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
ยิ้มก่อน ทักก่อน ไหว้ก่อน
Communities of Practice (CoP)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
Participation : Road to Success
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
หน่วยที่ 3 สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา (Tablet) กิจกรรมที่2 การผลิต การใช้ การประเมินผล สื่อ ICT.
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research)
มาตรฐานการควบคุมภายใน
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
รูปแบบการสอน.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
หลักสูตรศิลปะการพูดในการนำเสนอ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
หลักสูตร ศิลปะการพูดเพื่อการขาย บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
ประมวลผลการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตร E Learning "นพลักษณ์ฯ ขั้นต้น” 5 มิถุนายน -18 กันยายน 2551 สวทช. นำประสบการณ์จากกิจกรรมเชื่อโยงกับ Core Competency.
บทบาทสมมติ (Role Playing)
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
WHAT IS THE PROJECT?.  งานต่างๆ ที่ออกแบบเพื่อทำให้ วัตถุประสงค์ที่เฉพาะเจาะจงสำเร็จ ลุล่วงภายในเวลาที่กำหนด คุณจะ พัฒนาผลการดำเนินงานได้ด้วย การคิดหางานที่จะช่วยให้บรรลุ
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
หลักการเขียนโครงการ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
บทที่ 7 การวิจัยเชิงสืบเสาะ : การวิจัยเชิงคุณภาพ
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
การประเมินโครงการ (Project Evaluation)
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
การนำเสนอสารด้วยวาจา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคนิคการจัดเวทีประชาคม

เวทีประชาคม (Civil Society Forum or People Forum) เป็นวิธีการและเป้าหมายที่กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม ( participatory learning ) ระหว่างคนที่มีประเด็นหรือปัญหาร่วมกัน โดยใช้เวทีในการสื่อสารเพื่อการรับรู้และเข้าใจในประเด็น/ปัญหา และช่วยกันผลักดัน หรือหาข้อสรุปเป็นแนวทางแก้ไขประเด็นปัญหานั้นๆ

11. องค์ประกอบของการจัดเวทีประชาสังคมที่ดี 1. ประเด็นที่เป็นที่ประจักษ์ว่าเป็นปัญหาร่วม 2. มีวัตถุประสงค์ของการจัดประชาคมที่ชัดเจน 3. มีกระบวนการ ขั้นตอน และวิธีการที่ดี 4. ผู้มีส่วนได้เสียเข้าร่วมเวทีประชาคม 5. มีผู้อำนวยการให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือวิทยากรกระบวนการ

11.องค์ประกอบของการจัดเวทีประชาสังคมที่ดี(ต่อ) 6. มีการประสานงานล่วงหน้า 7. มีบรรยากาศที่ดี 8. มีระยะเวลาที่เหมาะสม 9. ต้องมีข้อสรุปเกิดขึ้นทุกครั้งที่ทำเวทีประชาสังคม 10. มีสื่อและอุปกรณ์การสื่อสารที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจประเด็น เนื้อหา ตรงกัน 11. มีการประสานงานล่วงหน้า

ขั้นตอนในกระบวนการจัดทำเวทีประชาคม ขั้นตอนแรก ขั้นตอนเตรียมการก่อนการทำเวทีประชาคม การเตรียมประเด็นที่ต้องการในเวทีประชาคม การเตรียมข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่ม การเตรียมขั้นตอน เครื่องมือ และอุปกรณ์สำหรับการทำประชาคม การเตรียมแนวคำถาม การเตรียมทีมงานจัดเวทีประชาคม

ขั้นตอนในกระบวนการจัดทำเวทีประชาคม กระบวนการที่ ๒ กระบวนการดำเนินการเวทีประชาคม การทำความรู้จักกันระหว่างผู้เข้าร่วมอภิปราย และทีมงานจัดการ บอกวัตถุประสงค์ของการจัดเวทีประชาสังคม การเกริ่นนำเข้าสู่ที่มาที่ไปของประเด็นสำหรับการอภิปรายในเวทีประชาคม การวางกฏ และระเบียบของการจัดเวทีประชาคมร่วมกัน การอภิปรายประเด็นหรือปัญหา การสรุป

ขั้นตอนในกระบวนการจัดทำเวทีประชาคม กระบวนการสุดท้าย : กระบวนติดตาม-ประเมินผล ขั้นตอนการติดตาม ขั้นตอนของการประเมินผล เพื่อตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงภายหลังการจัดเวทีประชาสังคมว่าประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นหรือไม่ เพื่อประเมินทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการจัดเวทีประชาสังคมทั้งหมด

บทบาทของผู้อำนวยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ /วิทยากรกระบวนการในเวทีประชาคม เป็นตัวจักรสำคัญที่จะทำให้วัตถุประสงค์ของการจัดเวทีประชาคมบรรลุหรือไม่บรรลุ ทำให้เรื่องยากกลายเป็นเรื่องง่าย หรือมีอุปสรรคน้อยที่สุด สร้างสมดุลระหว่าง การมีส่วนร่วมและและการอำนวยการเรียนรู้

แนวทางการเป็นผู้อำนวยการเรียนรู้ /วิทยากรกระบวนการที่มีคุณภาพ วางแผนดี รู้จักฟังอย่างวิเคราะห์ ยืดหยุ่น มีจุดความสนใจที่ชัดเจน กระตุ้นให้เกิดการแสดงออกร่วมกัน การบริหารจัดการกลุ่มที่ดี ทักษะการถามคำถาม

แนวทางการเป็นผู้อำนวยการเรียนรู้ /วิทยากรกระบวนการที่มีคุณภาพ (ต่อ) 8 กระตุ้นให้เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของ 9 สร้างความสัมพันธ์ที่ดี 10 ตระหนักรู้อยู่ตลอดเวลา 11 สามารถจัดการกับความขัดแย้งได้ 12 กระตุ้นให้เกิดการอภิปรายอย่างกว้างขวาง 13 ให้ข้อมูล

ข้อสังเกตการเป็นวิทยากร หากคุณไม่มีความเชื่อว่าคนทุกคนมีความสามารถ มีศักยภาพในตนเอง และไม่เคารพความคิดของคนอื่น คุณก็จะไม่สามารถดึงเอาศักยภาพที่มีอยู่ออกมาจากผู้เข้าร่วมแต่ละคน และไม่สามารถทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้

ข้อสังเกตการเป็นวิทยากร 1. หากคุณไม่มีความอดทน และไม่มีทักษะในการฟังที่ดี จะทำให้ไม่สามารถเก็บเกี่ยวข้อมูลทั้งเชิงลึก ข้อมูลที่มีนัยยะสำคัญ และข้อมูลโดยรวมทั้งหมดจากผู้อภิปรายได้

ข้อสังเกตการเป็นวิทยากร 2. หากวิทยากรกระบวนไม่เปิดใจกว้างที่เรียนรู้ทักษะ และเก็บเกี่ยวประสบการณ์ใหม่ๆ จะทำให้เกิดบรรยากาศที่น่าเบื่อและ เวทีประชาคมก็มักจะไม่ประสบผลสำเร็จในการนำพาให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมทั้งด้านการคิด การตัดสินใจ หรือการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน

ข้อสังเกตการเป็นวิทยากร 3. วิทยากรกระบวนการควรมีความมั่นใจในตนเองในการนำพาให้เวทีประชาคมนั้นบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ แต่ความมั่นใจนั้นต้องไม่วางอยู่บนความคิดที่ว่าตัวเองดีกว่าคนอื่น สำคัญกว่าคนอื่น หรือรู้มากกว่าคนอื่น

ข้อสังเกตการเป็นวิทยากร 4. วิทยากรที่ไม่มีทักษะเบื้องต้นของการเป็นวิทยากรกระบวนการ และไม่มีประสบการณ์ในการนำทักษะเหล่านั้นไปใช้จริง แน่นอนว่าจะมีปัญหาอย่างยิ่งในการนำกระบวนการมีส่วนร่วมไปสู่วัตถุประสงค์ที่วางไว้