เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
เวทีประชาคม (Civil Society Forum or People Forum) เป็นวิธีการและเป้าหมายที่กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม ( participatory learning ) ระหว่างคนที่มีประเด็นหรือปัญหาร่วมกัน โดยใช้เวทีในการสื่อสารเพื่อการรับรู้และเข้าใจในประเด็น/ปัญหา และช่วยกันผลักดัน หรือหาข้อสรุปเป็นแนวทางแก้ไขประเด็นปัญหานั้นๆ
11. องค์ประกอบของการจัดเวทีประชาสังคมที่ดี 1. ประเด็นที่เป็นที่ประจักษ์ว่าเป็นปัญหาร่วม 2. มีวัตถุประสงค์ของการจัดประชาคมที่ชัดเจน 3. มีกระบวนการ ขั้นตอน และวิธีการที่ดี 4. ผู้มีส่วนได้เสียเข้าร่วมเวทีประชาคม 5. มีผู้อำนวยการให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือวิทยากรกระบวนการ
11.องค์ประกอบของการจัดเวทีประชาสังคมที่ดี(ต่อ) 6. มีการประสานงานล่วงหน้า 7. มีบรรยากาศที่ดี 8. มีระยะเวลาที่เหมาะสม 9. ต้องมีข้อสรุปเกิดขึ้นทุกครั้งที่ทำเวทีประชาสังคม 10. มีสื่อและอุปกรณ์การสื่อสารที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจประเด็น เนื้อหา ตรงกัน 11. มีการประสานงานล่วงหน้า
ขั้นตอนในกระบวนการจัดทำเวทีประชาคม ขั้นตอนแรก ขั้นตอนเตรียมการก่อนการทำเวทีประชาคม การเตรียมประเด็นที่ต้องการในเวทีประชาคม การเตรียมข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่ม การเตรียมขั้นตอน เครื่องมือ และอุปกรณ์สำหรับการทำประชาคม การเตรียมแนวคำถาม การเตรียมทีมงานจัดเวทีประชาคม
ขั้นตอนในกระบวนการจัดทำเวทีประชาคม กระบวนการที่ ๒ กระบวนการดำเนินการเวทีประชาคม การทำความรู้จักกันระหว่างผู้เข้าร่วมอภิปราย และทีมงานจัดการ บอกวัตถุประสงค์ของการจัดเวทีประชาสังคม การเกริ่นนำเข้าสู่ที่มาที่ไปของประเด็นสำหรับการอภิปรายในเวทีประชาคม การวางกฏ และระเบียบของการจัดเวทีประชาคมร่วมกัน การอภิปรายประเด็นหรือปัญหา การสรุป
ขั้นตอนในกระบวนการจัดทำเวทีประชาคม กระบวนการสุดท้าย : กระบวนติดตาม-ประเมินผล ขั้นตอนการติดตาม ขั้นตอนของการประเมินผล เพื่อตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงภายหลังการจัดเวทีประชาสังคมว่าประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นหรือไม่ เพื่อประเมินทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการจัดเวทีประชาสังคมทั้งหมด
บทบาทของผู้อำนวยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ /วิทยากรกระบวนการในเวทีประชาคม เป็นตัวจักรสำคัญที่จะทำให้วัตถุประสงค์ของการจัดเวทีประชาคมบรรลุหรือไม่บรรลุ ทำให้เรื่องยากกลายเป็นเรื่องง่าย หรือมีอุปสรรคน้อยที่สุด สร้างสมดุลระหว่าง การมีส่วนร่วมและและการอำนวยการเรียนรู้
แนวทางการเป็นผู้อำนวยการเรียนรู้ /วิทยากรกระบวนการที่มีคุณภาพ วางแผนดี รู้จักฟังอย่างวิเคราะห์ ยืดหยุ่น มีจุดความสนใจที่ชัดเจน กระตุ้นให้เกิดการแสดงออกร่วมกัน การบริหารจัดการกลุ่มที่ดี ทักษะการถามคำถาม
แนวทางการเป็นผู้อำนวยการเรียนรู้ /วิทยากรกระบวนการที่มีคุณภาพ (ต่อ) 8 กระตุ้นให้เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของ 9 สร้างความสัมพันธ์ที่ดี 10 ตระหนักรู้อยู่ตลอดเวลา 11 สามารถจัดการกับความขัดแย้งได้ 12 กระตุ้นให้เกิดการอภิปรายอย่างกว้างขวาง 13 ให้ข้อมูล
ข้อสังเกตการเป็นวิทยากร หากคุณไม่มีความเชื่อว่าคนทุกคนมีความสามารถ มีศักยภาพในตนเอง และไม่เคารพความคิดของคนอื่น คุณก็จะไม่สามารถดึงเอาศักยภาพที่มีอยู่ออกมาจากผู้เข้าร่วมแต่ละคน และไม่สามารถทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้
ข้อสังเกตการเป็นวิทยากร 1. หากคุณไม่มีความอดทน และไม่มีทักษะในการฟังที่ดี จะทำให้ไม่สามารถเก็บเกี่ยวข้อมูลทั้งเชิงลึก ข้อมูลที่มีนัยยะสำคัญ และข้อมูลโดยรวมทั้งหมดจากผู้อภิปรายได้
ข้อสังเกตการเป็นวิทยากร 2. หากวิทยากรกระบวนไม่เปิดใจกว้างที่เรียนรู้ทักษะ และเก็บเกี่ยวประสบการณ์ใหม่ๆ จะทำให้เกิดบรรยากาศที่น่าเบื่อและ เวทีประชาคมก็มักจะไม่ประสบผลสำเร็จในการนำพาให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมทั้งด้านการคิด การตัดสินใจ หรือการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน
ข้อสังเกตการเป็นวิทยากร 3. วิทยากรกระบวนการควรมีความมั่นใจในตนเองในการนำพาให้เวทีประชาคมนั้นบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ แต่ความมั่นใจนั้นต้องไม่วางอยู่บนความคิดที่ว่าตัวเองดีกว่าคนอื่น สำคัญกว่าคนอื่น หรือรู้มากกว่าคนอื่น
ข้อสังเกตการเป็นวิทยากร 4. วิทยากรที่ไม่มีทักษะเบื้องต้นของการเป็นวิทยากรกระบวนการ และไม่มีประสบการณ์ในการนำทักษะเหล่านั้นไปใช้จริง แน่นอนว่าจะมีปัญหาอย่างยิ่งในการนำกระบวนการมีส่วนร่วมไปสู่วัตถุประสงค์ที่วางไว้