ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

เรื่อง อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ โรงเรียนอุดมดรุณี จังหวัดสุโขทัย
สมดุลเคมี.
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
รองศาสตราจารย์ ดร. วิบูลย์ รัตนาปนนท์
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
บรรยากาศ.
Dust Explosion.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
ครูไพรินทร์ เจริญศิริ hotmail.com
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
ควอรตซ์ ไมก้า เฟลด์สปาร์ แอมฟิโบล ไพร็อกซีน แคลไซต์ แร่ประกอบหิน.
สารกัดกร่อน.
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ก๊าซเรือนกระจก ธีรดนย์ เธียรหิรัญ ๕๒๑๑๐๐๐๖๐๙.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
อากาศส่งผลกระทบต่อการดำรงชีพ
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
รู้จัก...ก๊าซหุงต้ม (LPG)...ให้มากขึ้น...
เปลือกโลก(crust) ประกอบด้วย Oxygen 45.2 ซิลิกอน 27.2 อลูมิเนียม 8.2
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
( Stanum ใช้สัญลักษณ์ Sn )
สารประกอบ.
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
สารมลพิษทางอากาศเบื้องต้น ที่ควรสนใจ
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยา โรงเรียนสากเหล็กวิทยา
สังกะสี แคดเมียม.
เคมี ม.5 ว30223 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ครูธนพล ถัดทะพงษ์
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
การจำแนกประเภทของสาร
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
ภาวะโลกร้อน.
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่ สูงขึ้นเรื่อยๆ.
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
มลภาวะ (pollution).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน

การเกิดปฏิกิริยาเคมี คือ การเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เกิดขึ้น และ ได้สารชนิดใหม่ (product) ซึ่งมี คุณสมบัติต่างจากสารตั้งต้น (reactant)

อาจจะมีการ ดูดพลังงาน หรือ คายพลังงาน ให้กับสิ่งแวดล้อม - การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานเกิดขึ้นด้วย อาจจะมีการ ดูดพลังงาน หรือ คายพลังงาน ให้กับสิ่งแวดล้อม ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นมีหลายประเภท แบ่งได้เป็น * ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส * ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับกรด * ปฏิกิริยาการเผาไหม้ * ปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบคาร์บอเนตกับกรด

การเกิดปฏิกิริยาเคมี การเกิดสนิมของเหล็ก การเผาไหม้เชื้อเพลิงของรถมอเตอร์ไซด์ เกิดเป็นเขม่าควัน กระบวนการหายใจ ในการหายใจออกจะได้แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ และน้ำ ภาชนะที่ทำจากโลหะ เมื่อวางทิ้งไว้จะทำปฏิกิริยากับแก๊ส ออกซิเจนในอากาศ ทำให้โลหะหมองคล้ำไม่แวววาว

เมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้น จะสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงได้อย่างชัดเจน เช่น เกิดควัน เขม่า ตะกอน มีฟองแก๊สเกิดขึ้น หรือมีความร้อนเกิดขึ้น สีของสารมีการเปลี่ยนแปลง เป็นต้น ปฏิกิริยาเคมี - สารตั้งต้น หรือ ตัวทำปฏิกิริยา (reactant) ทำปฏิกิริยา กัน แล้วเกิดสารใหม่ ซึ่งมีคุณสมบัติต่างจากสารตั้งต้น เรียกสารใหม่ที่ เกิดขึ้นว่า สารผลิตภัณฑ์ (product)

พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาคายความร้อน (exothermic reaction) คือ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นแล้ว ให้พลังงานความร้อนออกมา ทำให้สิ่งแวดล้อม มีอุณหภูมิสูงขึ้น แต่อุณหภูมิของสารลดลง เช่น การเผาไหม้ของ เชื้อเพลิง การละลายน้ำของโซดาไฟ เป็นต้น ปฏิกิริยาดูดความร้อน (endothermic reaction) คือ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นแล้ว ดูดความร้อนจากสิ่งแวดล้อมเข้าไป ทำให้ อุณหภูมิสูงขึ้น แต่สิ่งแวดล้อมอุณหภูมิลดลง เช่น การสังเคราะห์ด้วย แสงของพืช การละลายเกลือแกงด้วยน้ำ เป็นต้น

ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน ปฏิกิริยาการเผาไหม้ เป็นปฏิกิริยาที่มักเกิดกับแก๊สออกซิเจนและเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน การเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ เกิดแล้วได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซต์และน้ำ การเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ เกิดจากการเผาไหม้ที่มีปริมาณออกซิเจนไม่เพียงพอ เกิดแล้วได้แก๊สคาร์บอนมอนอกไซต์และเขม่าควัน

กำมะถัน ออกซิเจน ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 2SO2 + O2 2SO3 ปนอยู่ด้วย เมื่อเกิดการเผาไหม้ กำมะถันจะรวมตัวกับ ออกซิเจน (O2)ได้ แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ซึ่ง สามารถเกิดปฏิกิริยาการรวมตัวกับแก๊สออกซิเจนต่อไปได้ แก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซต์ (SO3) S + O2 SO3 กำมะถัน ออกซิเจน ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 2SO2 + O2 2SO3 ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ออกซิเจน ซัลเฟอร์ไตรออกไซด์

เมื่อแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์และแก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์โดนความชื้น ในอากาศ จะเกิดปฏิกิริยารวมตัวกับละออกน้ำเกิดเป็นกรดซัลฟิวรัส (H2SO3) และกรดซัลฟิวริก หรือกรดกำมะถัน (H2SO4) ถ้ากรดที่ เกิดขึ้นมีปริมาณมาก เมื่อฝนตกลงมาก็จะถูกชะลงมากับฝน เรียกว่า ฝนกรด SO2 + H2O H2SO3 ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ น้ำ กรดซัลฟิวรัส SO3 + H2O H2SO4 ซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ น้ำ กรดซัลฟิวริค

ปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะกับกรด ปฏิกิริยานี้เกิดเมื่อ โลหะสัมผัสกับกรดจะได้แก๊สไฮโดรเจน (H2) และเกลือ เช่นโลหะพวก Zn, Fe, Mg, Al Mg + H2SO4 MgSO4 + H2 (โลหะ) (กรด) (เกลือ) (แก๊ส) Fe + 2HCl FeCl2 + H2

ปฏิกิริยาการเกิดสนิม 4Fe + 3O2 2Fe2O3 เหล็ก ออกซิเจน สนิมเหล็ก

ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส ถ้ากรดรวมตัวพอดีกับเบส จะได้ผลิตภัณฑ์เป็น เกลือ และ น้ำ ซึ่งเรียก ปฏิกิริยานี้ว่า ปฏิกิริยาสะเทิน (neutralization reaction) HCl + NaOH NaCl + H2O (กรด) (เบส) (เกลือ) (น้ำ)

ปฏิกิริยาการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต 2NaHCO3 Na2CO3 + CO2 + H2O โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต โซเดียมคาร์บอเนต คาร์บอนไดออกไซต์ - ใช้ทำขนมหลายชนิด เช่น ขนมเค้ก ขนมสาลี่ ขนมถ้วยฟู - ใช้ในการดับไฟป่า

ปฏิกิริยาการสลายตัวของหินปูนหรือหินอ่อน CaCO3 ความร้อน CaO + CO2 แคลเซียมคาร์บอเนต (หินปูน) ปูนขาว คาร์บอนไดออกไซต์ - ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตปูนซีเมนต์ ซึ่งมีปูนขาวเป็นส่วนประกอบหลัก