โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา 13.00 น .

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
ของงานแนะแนว ระดับประถมศึกษา
“ โครงการอบรมหลักสูตรระยะสั้น ” เรื่อง รู้จักโปรแกรม OrCAD Capture PSPICE กับการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าสำหรับ อาจารย์ในระดับอาชีวศึกษา 14 ตุลาคม 2554 เวลา.
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
การวางแผนและการดำเนินงาน
Management Information Systems
(Sensitivity Analysis)
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
การจัดกระทำข้อมูล.
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การเขียนรายงานการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง วิธีการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และการออกหนังสือรับรองว่าเป็นผู้ผ่านการทดสอบ มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ
System Development Lift Cycle
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
การวิเคราะห์ข้อมูล.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การวัดผล (Measurement)
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
หลักการแก้ปัญหา.
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ADDIE Model.
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หลักการเขียนโครงการ.
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
หลักการออกแบบของ ADDIE model มีขั้นตอนดังนี้. 1
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา 13.00 น . – 17.00 น. วันพุธที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2550 ณ อาคารมหิตลาธิเบศร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร

การวิเคราะห์ข้อทดสอบตามแบบราช (RASCH MODEL )ด้วยโปรแกรม BICAL ใช้วิเคราะห์ข้อทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบไม่เกิน 5 ตัวเลือก ที่มีคำตอบถูกต้องเพียงคำตอบเดียวและให้คะแนนแบบ 0,1 เท่านั้น วิเคราะห์ได้ครั้งละไม่เกิน 480 ข้อแบะผู้สอบไม่เกิน 1,000 คน

ผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรมราช ค่าความยากของข้อทดสอบแต่ละข้อ ค่าความสามารถของผู้สอบแต่ละคน คะแนนสอบและความถี่ของคะแนน ค่าความสามารถในการจำแนก (separability) ของแบบทดสอบ โค้งลักษณะเฉพาะของแบบทดสอบ

ระดับความสามารถ เกณฑ์ที่บ่งบอกว่ารู้เรียนมีความรู้ความสามารถที่จะทำกิจกรรมอย่างไรได้บ้าง โดยทั่วไปมักวัดระดับความสามารถโดยการอาศัยวิธีการกำหนดระดับคะแนน ด้วยวิธีการอิงกลุ่ม

การกำหนดระดับความสามารถ ใช้วิธีการประเมินผลแบบอิงกลุ่ม (Norm – Referenced Evaluation) ใช้วิธีการประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ ( Criterion – Referenced Evaluation)

วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียนทำได้หลายวิธี ดังนี้ วิธีการกำหนดร้อยละของผู้เรียนในแต่ละระดับความสามารถตามทฤษฎี วิธีการกำหนดร้อยละของผู้เรียนในแต่ละระดับความสามารถเอง วิธีการใช้คะแนนดิบ วิธีการใช้พิสัยของคะแนนดิบ วิธีการใช้ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิธีการใช้ค่าเฉลี่ยและค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการวัด วิธีการใช้คะแนนมาตรฐานที

วิธีการกำหนดระดับความสามารถแบบอิงเกณฑ์ มีหลายวิธีดังนี้ วิธีการวิเคราะห์ข้อทดสอบด้วยรูปแบบราช วิธีการใช้เกณฑ์ค่าสัมบูรณ์ วิธีการใช้เกณฑ์เทียบเคียง

ขั้นตอนการกำหนดระดับความสามารถ สร้างแบบทดสอบปรนัยจำนวนอย่างน้อย 25 ข้อ นำแบบทดสอบไปสอบกับผู้เรียนอย่างน้อย 100 คน นำข้อสอบแต่ละข้อมากำหนดรหัสระบุสิ่งที่ข้อสอบมุ่งทำการทดสอบ (วัตถุประสงค์) นำผลการสอบมาวิเคราะห์ข้อสอบรายข้อด้วยโปรแกรมแบบราช นำผลการวิเคราะห์ส่วนที่เป็น Map of Variables มากำหนดระดับความสามารถ

รายละเอียดการกำหนดระดับความสามารถ -2.99 ถึง -2.00 ระดับ Rudimentary -1.99 ถึง – 1.00 ระดับ Funda mental 0.00 ถึง -0.99 ระดับ Lower Intermediate 0.00 ถึง +0.99 ระดับ Upper Intermediate 1.00 ถึง 1.99 ระดับ Advanced +2.00 ถึง +2.99 ระดับ Superior

จุดอ่อนของการวิเคราะห์แบบประเพณีนิยม ธรรมชาติและขนาดของกลุ่มตัวอย่างมีผลต่อความถูกต้องของค่าสถิติ การคัดเลือกข้อสอบที่ดีทำให้ค่าความเที่ยงและอำนาจจำแนกผิดพลาด แก้ปัญหาเรื่องการเดาไม่ได้ จำนวนผู้ตอบแต่ละข้อต่างกันทำให้ค่าความยากผิดพลาด ความยากของข้อสอบมีผลต่อค่าอำนาจจำแนกและความเที่ยง

แนวคิดของการทดสอบตามทฤษฎีตามตอบสนองต่อข้อทดสอบ ความยาก – ง่ายของข้อทดสอบ ค่าอำนานจำแนกของข้อทดสอบ โอกาสในการเดาถูก ความคลาดเคลื่อนอื่นๆ

แนวคิดของ IRT แบบหาค่าหนึ่งพารามิเตอร์ คือ ค่าความยาก แบบหาค่าสองพารามิเตอร์ คือ ค่าความยากและค่าอำนาจจำแนก แบบหาค่าสามพารามิเตอร์ คือ ค่าความยาก ค่าอำนานจำแนก และค่าการเดาถูก แบบหาค่าสี่พารามิเตอร์ คือ ค่าความยาก ค่าอำนานจำแนก ค่าการเดาถูก และค่าความคลาดเคลื่อนอื่นๆ

ประโยชน์ของการวิเคราะห์ข้อสอบแบบ IRT ได้ค่าสถิติที่ไม่แปรเปลี่ยนไปตามกลุ่มตัวอย่าง ไม่จำเป็นต้องใช้กลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ก็ได้ มีประโยชน์ทางการวัดผลมากกว่าเดิม

ข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์แบบ IRT แบบทดสอบวัดความสามารถเพียงมิติเดียว ข้อสอบแต่ละข้อเป็นอิสระจากตำแหน่ง ข้อสอบเป็นการวัดแบบถูกหรือผิดเท่านั้น ตัวอย่างมีไม่น้อยกว่า 100 คน และถ้าให้ดีควรมีมากกว่า 1000 คน ข้อสอบมีไม่น้อยกว่า 25 ข้อ

การวิเคราะห์ข้อทดสอบปรนัยแบบหนึ่งพารามิเตอร์หรือแบบราชด้วยคอมพิวเตอร์ (การเตรียมข้อมูล) ใช้เครื่องตรวจข้อสอบ ใช้โปรแกรม Notepad ใช้โปรแกรม Wordpad ใช้โปรแกรม Ms Word แล้ว Save เป็น Text File ใช้โปรแกรม Ms Excel แล้ว Save เป็น Text File

ลักษณะข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ 000000 12312234124423212224111234123 Somsri 12234112312422223413431344344 Somying 22123444421333124343434411124