แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
ทีมนิเทศงานจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
โครงการกรมการแพทย์ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ แบบเบ็ดเสร็จ ปี 2551
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
บทเรียนการดำเนินการให้บริการบำบัดผู้เสพยาสูบ แบบครบวงจร
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางกิจกรรมบำบัด ในผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
CBL ภูหลวง.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
Health Referral System for Care of People with Diabetics foot
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
สกลนครโมเดล.
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง

  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
การสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่ผู้สูงอายุ
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556 ศรีเกษ ธัญญาวินิชกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

เป้าหมาย - ทำให้มีช่วงที่ทุพพลภาพน้อยที่สุด เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถผสมผสาน รวมอยู่ในสังคมได้อย่างมีเกียรติและมีสุขภาพดี เป้าหมาย - ทำให้ช่วยเหลือตัวเองได้มากที่สุด - ทำให้มีช่วงที่ทุพพลภาพน้อยที่สุด - คงระดับศักยภาพสมองไม่ให้เสื่อม - อยู่แบบมีความหวัง - ไม่กลัวความตาย ให้รู้จัก แก่ก่อนแก่ ให้รู้จัก ตายก่อนตาย

แนวโน้มภาวะประชากรผู้สูงอายุไทย

สภาพปัญหาของผู้สูงอายุ จำแนกได้เป็น 4 ประเด็น ดังนี้ สภาพปัญหาของผู้สูงอายุ จำแนกได้เป็น 4 ประเด็น ดังนี้ ปัญหาสุขภาพ มีตั้งแต่ระดับพื้นฐานเนื่องจากความชราภาพถึงระดับโรคเรื้อรังหรือ ทุพพลภาพ การอยู่อาศัย ผู้สูงอายุมีแนวโน้มอยู่ลำพังคนเดียวมากขึ้น ความยากจน ผู้สูงอายุที่ตกอยู่ในภาวะยากจน มีประมาณ 1.1 ล้านคน (ร้อยละ 16 ของกลุ่มคนยากจน หรือร้อยละ 18 ของประชากรทั้งประเทศ) (NESDB, 2547) สภาพแวดล้อม (โดยเฉพาะด้านกายภาพ) และสิ่งอำนวยความสะดวกไม่เหมาะสม

เป้าประสงค์ “ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีและอยู่ ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการ ส่งเสริมสุขภาพ”

โรคเรื้อรังและภาวะทุพพลภาพของผู้สูงอายุไทย ร้อยละ 48 มีโรคเรื้อรัง / โรคประจำตัว ร้อยละ 25 ไม่สามารถทำกิจกรรมตามปกติ ร้อยละ 20 มีภาวะทุพพลภาพเกิน 6 เดือน - พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย - จะรุนแรงขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น - อายุที่เพิ่มขึ้นทุก 5 ปี จะมีความบกพร่องของการทำหน้าที่ (functional disability)

สถานการณ์การดูแลผู้สูงอายุในปัจจุบัน ร้อยละของผู้สูงอายุที่ต้องการ การดูแลในการทำกิจวัตรประจำวัน ต้องการคนดูแล 1.1% มีผู้ดูแล 10.4 % บุตรสาว 40.5 คู่สมรส 28.0 บุตรชาย 12.0 บุตรเขย/สะใภ้/หลาน 10.2 พี่น้อง ญาติ 5.2 อื่นๆ 4.0 ปัจจุบันการรักษาพยาบาลในประเทศไทยมีการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า แต่ในทางปฏิบัติยังมีผู้ป่วยบางกลุ่มที่ต้องพึ่งพิงผู้อื่น/ต้องการคนดูแลในการใช้ชีวิตประจำวัน

สถานการณ์การดูแลระยะยาวในประเทศไทย การดูแลในสถาบัน - โรงพยาบาล - บ้านพักคนชรา / สถานฟื้นฟู - สถานสงเคราะห์ การดูแลโดยภาคเอกชน - บ้านจัดสรร / Group home การดูแลในชุมชน - การดูแลสุขภาพที่บ้าน (Home health care) - การดูแลโดยอาสาสมัครที่บ้าน (Home care)

การดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556 การดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556 คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คลินิกสายตาเลือนลางคุณภาพ คลินิกเวชกรรมฟื้นฟูคุณภาพ การดำเนินงานดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ( LTC) ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาทักษะทางกายและใจ

3 แห่ง ( รพ.นครพิงค์ รพ.ฝาง รพ.จอมทอง ) คลินิกผู้สูงอายุ การบริการสำหรับผู้สูงอายุด้านการส่งเสริมป้องกัน การคัด กรอง การตรวจค้นหาโรคระยะเริ่มแรก การบำบัดรักษาและ การฟื้นฟูสภาพ ตั้งแต่ระดับสุขภาพดี เริ่มป่วยและป่วยแล้ว รวมทั้งผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง และการทบทวนการใช้ยาอย่างเป็น ระบบโดยทีมสหวิชาชีพ 3 แห่ง ( รพ.นครพิงค์ รพ.ฝาง รพ.จอมทอง )

คลินิกสายตาเลือนลาง บริการตรวจประเมิน ฟื้นฟูสมรรถภาพ และ พิจารณาอุปกรณ์เครื่องช่วยทางการมองเห็นแก่คน สายตาเลือนลาง 1 แห่ง ( รพ.นครพิงค์ )

คลินิกเวชกรรมฟื้นฟู บริการตรวจประเมิน ฟื้นฟูสมรรถภาพ และ พิจารณาอุปกรณ์เครื่องช่วยแก่ผู้ป่วย / คนพิการ ทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหว 1 แห่ง ( รพ.นครพิงค์ )

การดำเนินงานดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ( LTC) การจัดบริการสุขภาพและสังคมเพื่อตอบสนองผู้สูงอายุที่ ต้องการความช่วยเหลือ อันเนื่องมาจากภาวะการเจ็บป่วย เรื้อรัง การประสบอุบัติเหตุ ความพิการต่างๆ ตลอดจน ผู้สูงอายุที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในชีวิตประจำวัน มุ่งเน้นในด้านการฟื้นฟู บำบัด รวมถึงการส่งเสริมสุขภาพ อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง เพื่อให้เขามีคุณภาพชีวิตที่ดี 1 ตำบล / อำเภอ ( 25 ตำบล)

ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาทักษะ ทางกายและใจ ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาทักษะ ทางกายและใจ ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ ความเข้าใจ มี ทักษะในการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต สามารถ จัดการสุขภาพตนเองได้ หรือมีผู้ดูแล และมีส่วนร่วมใน กิจกรรมชุมชนตามความรู้ ความสามารถและศักยภาพ ของบุคคล

สวัสดี