สังกะสี แคดเมียม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

เรื่อง อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ โรงเรียนอุดมดรุณี จังหวัดสุโขทัย
ทังสเตน ทังสเตนหรือวุลแฟรม ( W ) เป็นโลหะสีเทาเงิน นำความร้อนและไฟฟ้าดีมาก ซึ่งมีจุดหลอมเหลวสูงถึง 3410 องศาเซลเซียส ความหนาแน่น 19.3 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร.
วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
โดย วราภรณ์ ถาวรวงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนย์อนามัยที่๑.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
ดิน(Soil).
สมบัติของสารและการจำแนก
ดิน ประโยชน์ของดิน สมบัติของดิน ลักษณะของดิน
หินแปร (Metamorphic rocks)
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
ควอรตซ์ ไมก้า เฟลด์สปาร์ แอมฟิโบล ไพร็อกซีน แคลไซต์ แร่ประกอบหิน.
สารกัดกร่อน.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
ปัญหาคุณภาพน้ำและแนวทางแก้ไขในกรมชลประทาน
มลพิษทางอากาศ โชคชัย บุตรครุธ.
เทคโนโลยีพลังงาน.
คุณสมบัติทางกายภาพของแร่
การจัดการน้ำ WATER MANAGEMENT.
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง กรด-เบส ในชีวิตประจำวัน
โครงงานต่อยอดเทคโนโลยีที่สืบค้นจากเอกสารสิทธิบัตรระดับนานาชาติ
( Stanum ใช้สัญลักษณ์ Sn )
เซอร์โคเนียม Zirconium (Zr).
เครื่องถ่ายเอกสาร.
อุตสาหกรรมฟอกหนัง ผลิตภัณฑ์จากหนัง งานตกแต่ง สี ขัด อัดหนัง
อุตสาหกรรมหล่อหลอมโลหะ
ผลิตเป็นเม็ดพลาสติกสี
สารประกอบ.
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
ACID-BASE เราไปกันเลย Jutimat Rattanapan.
แทนทาลัม และ ไนโอเบียม.
ปูนซีเมนต์.
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
การจำแนกประเภทของสาร
แร่ทองแดง (Copper) และ แร่พลวง (Antimony)
Science Quiz Show ภูมิใจนำเสนอ
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
เรามารู้จักแร่..กันเถอะ
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
การเตรียมความพร้อมในการเขียนเอกสาร
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
วิชา งานสีรถยนต์.
“การผลิตถังบรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายใน”
โดย ครูธันว์ชนก บัวคงดี
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
ปิโตรเลียม.
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ประเภทโครงการหรือกิจกรรม ลำดับที่ ๘ โรงงานถลุงหรือหลอมเหล็ก
น้ำแร่ น.ส.มิ่งขวัญ เครือจันต๊ะ น.ส.ปิยะภรณ์ สอนใจ
ข้อเสนอความคิดเห็นโรงงานถลุงหรือหลอมโลหะ รวมเหล็กและเหล็กกล้า
Assignment เหล็กโครงสร้างรูปพรรณ
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
มลภาวะ (pollution).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สังกะสี แคดเมียม

สมบัติทั่วไปของสังกะสี และ แคดเมียม

สังกะสี สังกะสี (Zinc) เป็น ธาตุแรกของหมู่ II B สัญลักษณ์ คือ Zn เป็นธาตุประเภทโลหะที่มีความไวต่อปฏิกิริยาเคมีพอสมควรกับออกซิเจนและธาตุ ที่ไม่ใช่โลหะ สังกะสีเมื่อทำปฏิกิริยากับกรดเจือจางจะปล่อยก๊าซไฮโดรเจนออกมา Zn

คุณสมบัติของแร่ Zn เป็นโลหะสีเงิน แต่สีจะหมองคล้ำเมื่อถูกกับอากาศ เพราะเกิดเป็นออกไซด์เคลือบบางๆ ที่ผิว Zn เมื่อเผาให้ร้อนในอากาศ จะเป็น ZnO  ซึ่งมีสีขาว และสีไม่หมองคล้ำ ZnO ละลายน้ำได้น้อย แต่ละลายได้ดีในกรดแก่และเบสแก่ Zn ทำปฏิกิริยากับอโลหะอื่นๆ ได้สารประกอบต่างๆ       

แหล่งที่พบ สังกะสี พบในรูปสังกะสีซิลิเกต เช่น แร่เฮมิเมอร์ไฟต์ ( Zn 4(Si 2O 7)(OH) 2(H 2O)) แร่สมิทซอไนต์ ( ZnCO 3) และแร่ซิงไคต์ ( ZnO) สำหรับแร่สังกะสีที่พบมากที่สุดในโลก คือ แร่สฟาเลอไรต์ ( ZnS) ส่วนในประเทศไทย พบแร่สังกะสีพบมากที่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก

การถลุงสังกะสี Zn นำสินแร่สังกะสี ZnS, มาทำให้เป็นออกไซด์ ด้วยการเผา ได้ นำสังกะสีออกไซด์ (ZnO) มาแยก Zn Zn ออกจาก ZnO ทำปฏิกิริยากับถ่านโค้ก นำไปใช้แยก ได้ Zn(s) + CO(g) CO ที่เกิดขึ้นทำปฏิกิริยากับ ZnO แยกZn ได้ Zn(s) + CO 2(g) CO 2 ที่เกิดขึ้น C ที่เหลือเกิด CO ทำปฏิกิริยากับ

สารละลายที่กรองได้ จะมีเกลือของแคดเมียม พลวง ทองแดงละลายอยู่ นำแร่มาบด เครื่องบดเปียก ละเอียดเป็นผง แคดเมียม พลวง ทองแดง ทำปฏิกิริยากับ กรดซัลฟิวริก เติมผงสังกะสี เติมผงสังกะสี เติมผงสังกะสี ได้สารละลายที่มี 𝑍𝑛𝑆𝑂 4 ละลายอยู่ กรองแยกกากแร่ ออกจากกัน บ่อเก็บแร่ สารละลายที่กรองได้ จะมีเกลือของแคดเมียม พลวง ทองแดงละลายอยู่ ปรับสภาพให้เป็นกลางด้วยปูนขาว

ประโยชน์ของแร่สังกะสี 1. ใช้เคลือบผิว (galvanizing) ของเหล็กกล้าเพื่อป้องกันการเกิดสนิม 2. ใช้ในรูปของโลหะเจือ ในการผลิตขึ้นรูปเป็นแผ่นสังกะสี 3. ใช้เป็นส่วนผสมของสีและยาง 4. ใช้เป็นชิ้นส่วนรถยนต์ ฟิวส์ไฟฟ้า ขั้วของถ่านไฟฉาย 5. ใช้เตรียมสารเคมีของสังกะสี

แคดเมียม คุณสมบัติของแร่ แคดเมียม (Cadmium) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 48สัญลักษณ์คือ แคดเมียมเป็นโลหะทรานซิชันสีขาว-ฟ้า Cd คุณสมบัติของแร่ แคดเมียม เป็นโลหะหนัก มีสีขาว ฟ้า วาว มีลักษณะเนื้ออ่อน สามารถบิดโค้งงอได้และถูกตัดได้ง่ายด้วยมีด มักอยู่ในรูปแท่ง แผ่น เส้นลวด หรือเป็นผงเม็ดเล็กๆ ในอากาศที่มีความชื้นแคดเมียม จะถูกออกซิไดซ์ช้าๆ ให้แคดเมียมออกไซด์ ในธรรมชาติแคดเมียมมักจะอยู่รวมกับกำมะถันเป็นแคดเมียมซัลไฟด์ และ มักปนอยู่ในสินแร่สังกะสี ตะกั่ว หรือทองแดง

วิธีทำ Cd จากกากแคดเมียม  เป็นขั้นตอนดังนี้ 1. เติม H2SO4 ลงในกากแคดเมียมที่บดแล้ว ทำให้เป็นกลางด้วย CaCO3 นำไปกรอง 2. เติมผง Zn ลงในสารละลายที่กรองได้ จะได้ Cd ที่พรุนตะกอน นำไปกรองจะได้ตะกอน Cd มีลักษณะพรุน 3. นำ Cd ที่พรุนไปเติม H2SO4 อีกครั้งแล้วทำเป็นกลางด้วยCaCO3 แล้วกรองเอาตะกอนออก 4. สารละลายที่ได้นำแยก Cd ออกด้วยกระแสไฟฟ้า นำ Cd ที่ขั้ว Cathode ( - ) ไปทำเป็นก้อน หรือเป็นแท่ง เพื่อนำไปใช้เป็นประโยชน์ต่อไป

ประโยชน์ของแร่ โลหะแคดเมียมมีสีเทาเงิน จัดเป็นโลหะอ่อน ง่ายต่อการตัด มีสมบัติคล้ายสังกะสี แต่แคดเมียมเป็นสารพิษ(เกิดโรคอิโต-อิไต) ไม่ควรได้รับฝุ่นแคดเมียมเกิน 0.01 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร นานเป็นเวลา 40 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เพราะจะทำให้เป็นอันตรายได้ สามารถทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน และทำปฏิกิริยากับกรด แต่ไม่ทำปฏิกิริยากับเบส  ใช้เคลือบโลหะที่เกิดการผุกร่อนเหมือนสังกะสี ใช้ทำขั้วไฟฟ้าในเซลล์นิกเกิล-แคดเมียม โลหะแคดเมียมดูดซับนิวตรอนได้ดี จึงใช้เป็นแท่งควบคุมการเกิดปฏิกิริยาฟิชชันในเตาปฏิกรณ์ โลหะผสมของแคดเมียมจะมีจุดหลอมเหลวต่ำ

จัดทำโดย 1. นาย สยามรัฐ อิ่นแก้ว เลขที่ 8 2. นาย ศศิพงษ์ กันทะเนตร เลขที่ 13 3. นาย ศักดิธัช ชัยลังกา เลขที่ 11 4. นางสาว ทิพย์วิไล คำเรือง เลขที่ 18 5. นางสาว ศิริลักษณ์ ตาคำ เลขที่ 41 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เสนอ ครู แสงหล้า คำหมั้น รายวิชา เคมี 5 รหัสวิชา ว30225 โรงเรียนเชียงของวิทยาคม