โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงานการทำแคลเซียมเจลลี่ ชาววัง กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน
Advertisements

การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
งานผลิตปุ๋ยชีวภาพ เป็นการนำสิ่งเหลือใช้ในชีวิตประจำวันได้แก่เปลือกกล้วยนำมาผสมกับ หัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาลในอัตราส่วน เปลือกกล้วย 2 กก.: เชื้อจุลินทรีย์
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
แต่งบ้านให้สวย ด้วยสวนงาม
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรอำเภอวังม่วง อำเภอวังม่วง จังหวัด สระบุรี
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
การถนอมอาหาร.
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
เศรษฐกิจแบบพอเพียง.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
ขั้นตอนวิธีการ การเก็บตัวอย่างดิน 1) เก็บตัวอย่างดินก่อนปลูกพืช ให้กระจายทั่วแปลงประมาณ 10–30 จุดต่อแปลง เก็บตัวอย่างดินระดับความลึกเท่ากับระดับไถพรวน.
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
เรื่อง การทำอาหารปลาจากธรรมชาติ
เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน
ปุ๋ยชีวภาพ Organicfertilizer
การทำน้ำหมักสมุนไพรขับไล่แมลงในสวนผัก
การปลูกพืชกลับหัว.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิเชียร อารยะสมสกุล
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ในภาวะน้ำท่วมและหลังน้ำลด
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
************************************************
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
การจัดการองค์ความรู้ เรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน สถานที่ดำเนินการ บ้านวังบง หมู่ที่ 10 ตำบลนาด้วง อำเภอนาด้วง.
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การคัดพันธุ์ข้าว โดย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนายทองเหมาะ แจ่มแจ้ง
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพในบ่อเลี้ยงปลาดุก
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
1.ด.ญ.ธนากร อยู่คง 3.ด.ช.วธัญญู อู่นาท 4.ด.ญ.วราภรณ์ เมืองแก้ว
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานในถุงพลาสติก โดยใช้วัสดุขี้เลื่อยไม้ยางพารา
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน

ที่มาและความสำคัญ เนื่องจากทางโรงเรียนได้จัดการอบรมเกี่ยวกับการทำการทำน้ำหมักชีวภาพซึ่งสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้แอย่างหลายจากประโยชน์เหล่านี้จึงทำให้พวกข้าเจ้าอยากน้ำความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ จึงได้จัดทำโครงงานเรื่อง น้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ขึ้นมาเพื่อเป็นการต่อยอดความรู้และนำความรู้ที่ได้มาใช้ให้เกิดประโยชน์และนำมาเผยแพร่ให้กับเพื่อนๆนักเรียนด้วยกัน

1. 2 จุดมุ่งหมายของการศึกษา. 1 1.2 จุดมุ่งหมายของการศึกษา 1.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับขั้นตอนและ ประโยชน์ของการทำน้ำหมักชีวภาพ 2.เพื่อนำความรู้ที่ได้มาปฏิบัติและนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง 3.เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการทำน้ำหมักชีวภาพให้แก่เพื่อนนักเรียนด้วยกัน

1. การผลิตและขยายน้ำหมักชีวภาพ 1. 1ส่วนผสม. -กากน้ำตาล. 2 ช้อนโต๊ะ 1.การผลิตและขยายน้ำหมักชีวภาพ 1.1ส่วนผสม -กากน้ำตาล 2 ช้อนโต๊ะ -จุลินทรีย์หัวเชื้อ(EM) 2 ช้อนโต๊ะ -น้ำสะอาด 1 ลิตร 1.2 วิธีการทำและขยายจุลินทรีย์(EM) -นำน้ำสะอาดใส่ขวดพลาสติกตามที่ได้เตรียมไว้เติมเชื้อจุลินทรีย์และกากน้ำตาลลงไปอย่างละ 2 ช้อนโต๊ะและปิดฝาให้แน่น

ประโยชน์ของน้ำหมักชีวภาพ ประโยชน์ของน้ำหมักชีวภาพ -ใช้ผสมอาหารให้สัตว์กินช่วยให้สัตว์เลี้ยงโตเร็วและแข็งแรง -ใช้ฉีดพ่นเพื่อปรับอากาศ -ใช้ล้างห้องน้ำดับกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ -ใช้ราดบ่อเลี้ยงกบ บ่อเลี้ยงปลา ช่วยลดกลิ่นเหม็นในบ่อ -ผสมกากน้ำตาลและน้ำใช้ฉีด พ่น ราด พืช ผัก ผลไม้ ใบและดอกจะดกบานทน -ใช้รดไม้ยืนต้นทำให้ผลโต รสชาติดี -ใช้บำบัดน้ำเสีย กำจัดกลิ่นเหม็น

2. การทำปุ๋ยหมักโดยใช้น้ำหมักชีวภาพ ส่วนผสมของการทำปุ๋ยหมักโดยใช้น้ำหมักชีวภาพ -มูลสัตว์ต่างๆ เช่น ไก่ หมู วัว ควาย นำมาผึ่งให้แห้ง(1กระสอบ) -แกลบดิบหรือฟางแห้งหรือหญ้าแห้งหรือใบไม้แห้ง(1กระสอบ) -รำละเอียดหรือคายข้าว(1กระสอบ) -จุลินทรีย์และกากน้ำตาลอย่างละ 2 ช้อนโต๊ะ ผสมน้ำ 10 ลิตรคนให้เข้ากัน

วิธีทำปุ๋ยหมัก -คลุกรำละเอียดกับมูลสัตว์แห้งที่บดหรือย่อยให้เล็กเข้าด้วยกัน -นำแกลบดิบหรือวัสดุอื่นๆที่ใช้แทนคลุกเข้าด้วยกันและนำจุลินทรีย์และกากน้ำตาลที่ผสมน้ำสะอาดรดและคลุกเคล้าให้เข้ากัน -ให้ความชื้นประมาณ40-50เปอร์เซ็นต์ดูได้จากการทำส่วนผสมเมื่อบีบเป็นก้อนจะไม่มีน้ำไหลออกจากง่ามมือ ถือว่าใช้ได้

-นำส่วนผสมไปใส่ในกระสอบ ถุงปุ๋ยหรือถุงอาหารสัตว์ ที่อากาศสามารถถ่ายเทได้ มัดปากกระสอบให้แน่น หมักไว้ประมาณ 1 สัปดาห์ก็จะได้ปุ๋ยจุลินทร์ที่มีคุณภาพและสามารถนำไปใช้ได้

การเก็บรักษา เก็บไว้ในที่ร่ม ไม่ให้โดนแดดหรือฝนหรือที่มีความชื้น เก็บรักษาได้ประมาณ 1 ปี

ประโยชน์ของปุ๋ยหมักชีวภาพ -ใช้ในการเตรียมดินปลูกพืช -ใช้หว่านเป็นปุ๋ยสำหรับพืช ผัก ผลไม้ -ใช้ผสมอาหารในการเลี้ยงสัตว์ -ใช้บำบัดน้ำ สร้างอาหารในน้ำ ในบ่อปลา บ่อกบ -ใช้บำบัดน้ำเสีย กำจัดกลิ่นเหม็น

3. การทำน้ำหมักป้องกันแมลงศัตรูพืช ส่วนผสม. -เหล้าขาว 2 ลิตร 3.การทำน้ำหมักป้องกันแมลงศัตรูพืช ส่วนผสม -เหล้าขาว 2 ลิตร -น้ำส้มสายชู 1 ลิตร -จุลินทรีย์ 1 ลิตร -กากน้ำตาล 1 ลิตร -น้ำสะอาด 10 ลิตร

วิธีทำ -นำกากน้ำตาลผสมน้ำ เหล้าขาว น้ำส้มสายชูและจุลินทรีย์ คนให้เข้ากัน -ปิดฝาให้สนิท หมักไว้ 10 -15 วัน -เขย่าภาชนะทุกวันเพื่อไม่ให้เกิดการนอนก้น ครบกำหนดนำไปใช้ขับไล่แมลงป้องกันโรคพืชบางชนิด เช่น ใบหงิก ใบด่าง เพลี้ยแป้ง หนอนชอนใบ เป็นต้น

วิธีใช้. -ใช้ผสมน้ำ 1-5 ช้อนโต๊ะต่อน้ำสะอาด 5- 10 ลิตร วิธีใช้ -ใช้ผสมน้ำ 1-5 ช้อนโต๊ะต่อน้ำสะอาด 5- 10 ลิตร -ฉีดพ่น ให้ทั่วถึง พืชผัก -ใช้กับพืชผักทุก 3 วันสลับกับพ่นจุลินทรีย์น้ำ

ประโยชน์ของน้ำหมักพืชสมุนไพรป้องกันแมลงศัตรูพืช ประโยชน์ของน้ำหมักพืชสมุนไพรป้องกันแมลงศัตรูพืช ใช้ ฉีด พ่น เพื่อขับไล่แมลงแลป้องกันโรคบางชนิด เช่น ใบหงิก ใบด่าง เพลี้ยแป้ง หนอนชอนใบ เป็นต้น

นำความรู้ที่ไปเผยแพร่ให้กับเพื่อนนักเรียนด้วยกัน

ข้อเสนอแนะในการทำโครงงาน. 1 ข้อเสนอแนะในการทำโครงงาน 1.ควรมีการนำผลการทำโครงงานไปขยายผลและเผยแพร่ให้กับชาวบ้านในชุมชนใกล้เคียงเพื่อที่จะได้นำความรู้ไปใช้ในการทำเกษตรต่อไป