หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
Advertisements

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
แนวทางการกำหนดกรอบอัตรากำลัง 4 ปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ
การปรับค่าตอบแทน สำหรับกำลังคน ด้านสาธารณสุข
นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
การวิเคราะห์และวางแผนอัตรากำลัง
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
การเตรียมการเพื่อการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
แนวทางดำเนินการการกระจายอัตรากำลัง
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
สป.สธ.ซักซ้อมแนวทางการดำเนินการ ด้านการบริหารงานบุคคล
การรับสมัครและคัดเลือก บุคคลเข้าศึกษาหลักสูตรต่าง ๆ
การจัดคนลงตำแหน่งตาม พรบ.ใหม่
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
แนวทางการกำหนดให้วิชาชีพเป็นสาขา การประกอบโรคศิลปะ
การวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพ
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
การศึกษาทบทวนเพื่อคาดการณ์กำลังคน ด้านสาธารณสุข ปี 2551
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ประเด็นการตรวจราชการ
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
โรงพยาบาลสัตหีบ กม.10.
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
ข้อเสนอและทางเลือก คลินิกอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลกมลาไสย (กลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา) ความร่วมมือระหว่าง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข พ.ศ. 2548
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การบริหารและพัฒนากำลังคน
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
วิเคราะห์อัตรากำลังสายงานรังสีเทคนิค
การพัฒนาระบบบริการสาขาหัวใจ เขต1
Health Referral System for Care of People with Diabetics foot
สกลนครโมเดล.
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
ข้อเสนอแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน P4P
การกำหนดกรอบอัตรากำลังสายวิชาชีพ (FTE2)
การปรับเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ ในระดับบริการปฐมภูมิ
การกำหนดกรอบอัตรากำลังสายวิชาชีพ รอบ2
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
สถานภาพกำลังคนกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
การประมาณการความต้องการใช้เตียงในโรงพยาบาล
โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
จากแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สู่การพัฒนางานเภสัชกรรม
เป็นผู้พิจารณากำหนดตำแหน่ง ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ที่ ก.พ. กำหนด
สัดส่วนวิชาชีพต่อสายสนับสนุน
การวิเคราะห์อัตรากำลัง สายงานพยาบาล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ภาระงานบุคลากร ด้านการแพทย์และสาธารณสุขในสังกัด สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม ข้อมูลที่ใช้ จากระบบรายงานที่มี ไม่เป็นภาระ โดยเก็บใหม่น้อยที่สุด บุคลากร จำแนกเป็น 2 กลุ่ม : บริการ และ อำนวยการ, สนับสนุน กำหนดเกณฑ์ขั้นต่ำ กำหนดเพิ่มเติมสำหรับงานอื่น ๆ ที่จำเป็น (Allowance) งานปฐมภูมิ วิเคราะห์ตามเกณฑ์

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อวิเคราะห์ภาระงานของบุคลากรสาย วิชาชีพและสายสนับสนุนการจัดบริการ เพื่อจัดทำกรอบอัตรากำลัง ประกอบการ พิจารณาจัดทำข้อเสนอการขอกำหนด ตำแหน่งใหม่ในปีงบประมาณ 2557 และ 2558 2. เพื่อวิเคราะห์ภาระงานของบุคลากรสาย อำนวยการและสนับสนุนการปฏิบัติงานของ หน่วยงาน เพื่อจัดทำกรอบอัตรากำลังในการ บริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข

คำจำกัดความ 1. บุคลากรสายวิชาชีพ ประกอบด้วย 1.1 กลุ่มงานบริการหลัก : แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ นักเทคนิคการแพทย์ นักกายภาพบำบัด นักรังสีการแพทย์ นักกิจกรรมบำบัด แพทย์แผนไทย นักวิชาการสาธารณสุข (ในงานบริการปฐมภูมิ) 1.2 กลุ่มบุคลากรในงานบริการเฉพาะด้าน : นักเทคโนโลยี หัวใจและทรวงอก นักเวชศาสตร์การสื่อความหมาย นักจิตวิทยาคลินิก นักกายอุปกรณ์ นักสังคมสงเคราะห์ นักโภชนาการ/นักกำหนดอาหาร 1.3 กลุ่มสนับสนุนบริการหลัก : จพ.สาธารณสุข จพ.ทันต สาธารณสุข จพ.เภสัชกรรม จพ.รังสีการแพทย์ จพ. วิทยาศาสตร์การแพทย์ จพ.เวชสถิติ จพ.โสตทัศนศึกษา เวชกิจฉุกเฉิน และผู้ช่วยพยาบาล

คำจำกัดความ 2. สายสนับสนุนการจัดบริการ ประกอบด้วย 2.1 กลุ่มอำนวยการ 2.2 กลุ่มสนับสนุนการปฏิบัติงานของ หน่วยงาน

ภาระงาน (workload) ภาระงาน : ปริมาณงาน เช่น บริการผู้ป่วยนอก มี หน่วยนับเป็นครั้ง (Case Visit) คูณด้วยเวลาที่ใช้ใน การให้บริการแต่ละครั้ง เช่น พยาบาลใช้เวลาดูแลผู้ป่วยนอก 12 นาที (0.2 ชั่วโมง) ต่อครั้ง มีปริมาณงานผู้ป่วยนอก จำนวน 57,000 ครั้งต่อปี ดังนั้น ภาระงาน มีค่าเท่ากับ 57,000 x 0.2 = 11,400 ชั่วโมงต่อปี

หน่วยนับปริมาณการให้บริการ (Unit of Services) และแหล่งข้อมูล งาน/กิจกรรม หน่วยนับ แหล่งข้อมูล OPD ไม่นับรวม ER OP Visit (ครั้ง/ปี) เวชระเบียน รพ./ ศูนย์คอมฯ ER Emergent+urgent (ครั้ง/ปี) แผนกฉุกเฉิน/ Non urgent (ครั้ง/ปี) IPD รวมทั้งหมด วันนอน (วัน/ปี) ICU กลุ่มการพยาบาล/ศูนย์คอมฯ OR Major Surgery (ครั้ง/ปี) ห้องผ่าตัด/เวชระเบียน รพ. LR   ห้องผ่าตัด/ เวชระเบียน รพ. - คลอดทั้งหมด ครั้ง/ปี - คลอดผิดปกติ ยกเว้น C/S

หน่วยนับปริมาณการให้บริการ (Unit of Services) และแหล่งข้อมูล งาน/กิจกรรม หน่วยนับ แหล่งข้อมูล ทันตกรรมใน รพ.   - ตรวจ ไม่มีหัตถการ Case visit (ครั้ง/ปี) แผนกทันตกรรม/ศูนย์คอมฯ - ตรวจรักษามีหัตถการ ทันตกรรม งานอนามัย รร. จำนวนนักเรียน (คน) ทันตกรรมนอก รพ./ชุมชน เช่น การออก รพ.สต. การออกหน่วยเคลื่อนที่ จำนวนผู้รับบริการ (คน) เภสัชกรรม ผู้ป่วยนอก (OPD) จำนวนใบสั่งยา (ใบ/ปี) แผนกเภสัชกรรม เภสัชกรรม ผู้ป่วยใน (IPD)

หน่วยนับปริมาณการให้บริการ (Unit of Services) และแหล่งข้อมูล งาน/กิจกรรม หน่วยนับ แหล่งข้อมูล บริการเทคนิคการแพทย์   แผนกเทคนิคการแพทย์ - จำนวน Lab test ของผู้ป่วยนอก test/ปี - จำนวน Lab test ของผู้ป่วยใน - จำนวนผู้ป่วยนอกรับบริการ Lab - จำนวนผู้ป่วยในรับบริการ Lab บริการกายภาพบำบัดใน รพ. แผนกกายภาพบำบัด - ผู้ป่วย Neuro ครั้ง/ปี - ผู้ป่วย Ortho - ผู้ป่วย Cardio-Pulmonary - ผู้ป่วยอื่นๆ บริการกายภาพบำบัดในชุมชน จำนวนการบริการ (คน/ปี)

หน่วยนับปริมาณการให้บริการ (Unit of Services) และแหล่งข้อมูล งาน/กิจกรรม หน่วยนับ แหล่งข้อมูล บริการรังสีการแพทย์   แผนกรังสีการแพทย์ -รังสีทั่วไป คน/ปี - รังสีพิเศษ จำนวนผู้บริการกิจกรรมบำบัด ใน รพ. แผนกกิจกรรมบำบัด จำนวนผู้บริการกิจกรรมบำบัด ในชุมชน บริการ EMS ผู้ป่วยฉุกเฉินมาก (แดง) ครั้ง/ปี แผนกฉุกเฉิน บริการ EMS ผู้ป่วยฉุกเฉิน (เหลือง)

FTE : Full Time Equivalent อัตราชั่วโมงเทียบเท่าพนักงานประจำ ตามเวลา มาตรฐานการทำงานของข้าราชการ 1 คน โดยกำหนดให้ทำงาน 7 ชั่วโมงต่อวัน 240 วันต่อปี 1 FTE มีค่าเท่ากับ 1,680 ชั่วโมงต่อปี FTE คำนวณจากภาระงาน (Workload) หารด้วย เวลามาตรการทำงาน เช่น ตามตัวอย่าง ภาระงานของพยาบาล 11,400 ชั่วโมงต่อปี ดังนั้น พยาบาลจะมี FTE เท่ากับ 11,400/1,680 = 6.78 FTE

FTE : Full Time Equivalent 3. ภาระงาน จากการทำงานอื่น ๆ เช่น การบริหาร วิชาการ งานพัฒนาคุณภาพ นอกเหนือจากภารกิจหลัก จะ กำหนดให้เพิ่มเป็น FTE Allowance (เพิ่มเติมให้ตาม ภาระงานอื่น ๆ นอกเหนืองานบริการ) ได้อีกประมาณ ร้อยละ 10-20 ของ FTE ทั้งหมด 4. บุคลากรสายงานที่จำเป็นสำหรับหน่วยบริการ หรือ หน่วยบริการ ที่คำนวณภาระงาน แล้วได้น้อย แต่ เป็นงานที่จำเป็นต้องจัดให้มีบริการ จะกำหนดจำนวน บุคลากรขั้นต่ำ เพื่อเป็นหลักประกันการบริการ

การคำนวณภาระงาน และ FTE 1. การหาค่าภาระงาน : ปริมาณงาน คูณกับ % สัดส่วนงาน และคูณด้วยเวลาการทำงาน แต่ละ กิจกรรม ตามเวลามาตรฐานวิชาชีพ หรือการ หาค่าเฉลี่ย 2. การหา FTE : นำภาระงานที่ได้ หารด้วย 1680 ชั่วโมง 3. การกำหนดค่าขั้นต่ำ กรณีคำนวณ FTE ได้ต่ำ เช่น แพทย์ FTE ไม่ถึง 2 ให้ขั้นต่ำ 2 พยาบาล FTE ไม่ถึง 20 ให้ขั้นต่ำ 15 เป็นต้น

การคำนวณภาระงาน และ FTE