การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานชิ้นที่ 3 การจัดงานในบ้าน 10 คะแนน
Advertisements

ห้องน้ำ/ห้องส้วม/ที่ปัสสาวะ
อย่าลืมให้วัคซีนแก่ตนเองโดยการออกกำลังกายด้วยครับ
โครงการรณรงค์การจัดการสิ่งแวดล้อม
การอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการ
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
หลักสำคัญในการล้างมือ
มาตรการป้องกันการติดเชื้อไข้หวัด ใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 สำหรับเจ้าหน้าที่คลัสเตอร์ 1. ทุกเช้าก่อนปฏิบัติงานทำความสะอาด Monitor โดยเฉพาะ mouse, Keyboard.
มาตรฐานสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
สรุปผลหลังการฝึกทักษะประกอบรายวิชา สถานีอนามัยบ้านหนองปลาน้อย ตำบลเหล่าปอแดง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร นักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน ปีที่ 3.
1) สุขลักษณะของสถานที่ตั้งและอาคารผลิต 1.1 ที่ตั้งและสิ่งแวดล้อม 1.2 อาคารผลิต • บริเวณผลิต • พื้น ฝาผนัง และเพดาน • ระบบระบายอากาศและแสงสว่าง • การป้องกันแมลง.
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
เทคนิคการพ่นสารเคมี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5.
เทคนิคการพ่นสารเคมี โดย ดอกรัก ฤทธิ์จีน
Tuberculosis วัณโรค.
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ข้อพึงปฏิบัติเพื่อ ป้องกันตนเอง จากไข้หวัดสายพันธ์ใหม่ 2009 กิน ร้ อ น ช้อน กลา ง ล้าง มื อ.
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
ทำอย่างไรเมื่อมีอาการไอ จาม เจ็บคอ มีน้ำมูก สวมหน้ากากทันที กรณีไอ จาม ใช้กระดาษทิชชูรองรับ และทิ้งในที่มิดชิด ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือเจลล้าง มือ.
ตรวจพื้นที่ 5ส. ฝั่งคลินิคประกันสังคม
เครื่องถ่ายเอกสาร.
การบริหารยาทางฝอยละออง
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
Crisis Management 3C 1I - Commander - Control Center - Communication
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
การลดอัตราการติดเชื้อผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับร้านอาหาร
การเตรียมความพร้อมของโรงพยาบาล
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
ห้องรับแขกที่ดูสบายตา
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ...
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
สิ่งคุกคามสุขภาพในโรงพยาบาล และปัญหาที่พบแต่ละแผนก
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล

การจัดการในสถานบริการสุขภาพ การจัดการโดยทั่วไป 1. ติดป้ายแสดง ที่จะให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับกลุ่มอาการ 2. ประเมินและรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อให้เร็วที่สุด

การจัดการผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อไปรับการรักษารพ.ที่ใกล้ที่สุด 1. ให้ได้รับการรักษาโดยเร็วที่สุด รายงานไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อส่งรพ.ที่เหมาะสม 2. ควรจัดให้ผู้ป่วยอยู่ในบริเวณที่มีการแลกเปลี่ยนอากาศที่ดี เป็นห้องเดี่ยวแยกจากผู้ป่วยอื่นอย่างน้อย 1 เมตร

การแยกผู้ป่วย 1. แยกจุดรอตรวจและจุดรับการรักษาให้ห่างจากผู้ป่วยอื่นอย่างน้อย 1 เมตร 2. ถ้าไม่สามารถแยกได้ให้รวมกลุ่มผู้ที่มีอาการเหมือนกันไว้ด้วยกัน แล้วแยกผู้ป่วยอื่นห่างออกไป 1 เมตร * ผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานต่ำ เช่น มะเร็ง เอดส์ หรือโรคอื่น มีโอกาสติดเชื้อง่ายต้องแยกผู้ป่วยเหล่านี้ออก *

การดูแลสิ่งแวดล้อมด้านการระบายอากาศ - ให้มีการระบายอากาศตามธรรมชาติ เปิดหน้าต่าง ประตูทุกบาน ให้อากาศมี การไหลเวียนที่ดี

สุขอนามัยของทางเดินหายใจ - แนะนำผู้ป่วย ญาติ บุคลากรสุขภาพใช้กระดาษทิชชูปิดปากและจมูกเวลาไอหรือจาม แล้วล้างมืออย่างถูกวิธี - การใส่หน้ากากอนามัย

การทำความสะอาดมือ - เป็นมาตรการหลักในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ - ควรมีการส่งเสริมและกระตุ้นให้ทำความสะอาดมือเสมอ - สมาชิกในครอบครัวควรกระตุ้นให้ล้างมือบ่อยๆหลังจากสัมผัสผู้ป่วย สิ่งของ สิ่งแวดล้อมในห้องผู้ป่วย

การใช้อุปกรณ์ป้องกันตัวเอง - ใช้สำหรับบุคลากรทุกระดับที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับผู้ป่วย ญาติที่เข้าเยี่ยม - ในการดูแลปกติใช้ ถุงมือ Surgical mask กาวน์ แว่นตา - ใน Aerosol producing procedures ใช้ กาวน์กันน้ำ หมวก แว่นตาหรือ Face shield N-95หรือN-100 P-100

การทำความสะอาดสถานพยาบาล เช็ดเปียกแทนการใช้ไม้กวาดแห้ง ใช้น้ำผสมผงซักฟอกหรือสบู่ในการทำความสะอาดทั่วไป การทำความสะอาดสิ่งขับถ่าย สารคัดหลั่ง หรือละอองฝอยจากผู้ป่วย โดย 1. สวมถุงมือยาง 2. เช็ดสิ่งขับถ่ายของผู้ป่วยบนพื้นผิวออกให้มากที่สุดโดยใช้ผ้าหรือกระดาษก่อนทำความสะอาดด้วยน้ำผสมผงซักฟอกหรือสบู่ 3. ทำความสะอาดพื้นผิวโดย 70% Alcohol

การทำความสะอาดเครื่องมือ เช็ดด้วย 70% Alcohol หลังการใช้ทุกครั้ง เช่น Stethoscope รถเข็น ควรใช้อุปกรณ์ Disposable

การซักฟอก วิธีการในปัจจุบันที่ปฏิบัติของรพ.เพียงพอ โดยการใช้อุณหภูมิการซัก 70 องศาเซลเซียส และใช้ผงฟอกขาว เจ้าหน้าที่ใช้อุปกรณ์ป้องกันที่ถูกต้อง เหมาะสม

การเตรียม 0.05% bleach Cold water 1000 cc. Sodium hyprochloride 10 cc. (2 ช้อนชา) ผสมใช้ใน 1 วัน

การขนส่งสิ่งส่งตรวจที่เก็บจากตัวผู้ป่วย การเก็บสิ่งส่งตรวจจากผู้ป่วยไปยังหน่วยตรวจทางห้องปฏิบัติการ ต้องเก็บในวัสดุที่ป้องกันการรั่วไหล และมีการเขียนกำกับอย่างชัดเจนถึงชนิดของสิ่งตรวจ วิธีการเก็บ และวิธีการส่งตรวจ

การจัดการขยะ ขยะจากผู้ป่วยถือเป็นขยะติดเชื้อ

ขอบคุณค่ะ