การหาค่าพารามิเตอร์เพื่อจำลองการทำงานของมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง
Advertisements

หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
Dreamweaver Adobe การสร้างโฮมเพจด้วย โปรแกรม 4 โดย.. ไชยยงค์ กงศรี
ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
พื้นฐานวงจรขยายแรงดัน
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
::::: การอบรมระยะสั้น :::::
ดำเนินงานโดย สำนักฝึกอบรมและพัฒนาทรัพยากรบุคคล กับภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
“ โครงการอบรมหลักสูตรระยะสั้น ” เรื่อง รู้จักโปรแกรม OrCAD Capture PSPICE กับการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าสำหรับ อาจารย์ในระดับอาชีวศึกษา 14 ตุลาคม 2554 เวลา.
เครื่องพันขดลวด Coil Wiering Machine EE โดย นายวรวิทย์ เหล่าพิเชฐกุล นายมาโนชย์ ทองขาว อาจารย์ที่ปรึกษา.
Low-speed UAV Flight Control Phase II
Multi Rotor Flying Object
Displacement & Motion Sensors ปัญญรักษ์ งามศรีตระกูล ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การจัดสรรหน่วยประมวลผล (Process Scheduling)
RAM (Random Access Memory)
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
ENCODER.
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
นางสาวคนึงนิจ พิศณุวรเมท คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาเอก เทคโนโลยีสารสนเทศ
DS30M DUAL FEED GUN.
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
ศึกษาโครงงานพิเศษ (Study Project) 1/2557
การจำลองการทำงานของมอเตอร์ Mono Pole Motor
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า
ชุดทดลองวงจรและ เครื่องมือวัดพื้นฐาน
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
หลักการประหยัดพลังงาน และเครื่องมือวัดการใช้พลังงาน
อุปกรณ์ไฟฟ้าโดยทั่วไป (General Electric Equipment)
การต่อวงจรบนแผ่นโพโตบอร์ด
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 6 วงจร TUNE.
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ไดแอก ( DIAC ) .
อ.กสิณ ประกอบไวทยกิจ และ อ.พีรพนธ์ อนุสารสุนทร ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
Actuator
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
กฤษ เฉยไสย ธวัตชัย สิ้นภัย ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยขอนแก่น
P1 การศึกษาการใช้อินเวอร์เตอร์เพื่อประหยัดพลังงานไฟฟ้าและควบคุมแรงดันน้ำ ในงานประปาและสุขาภิบาลกองอาคารและสถานที่ สำนักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น.
กฤษ เฉยไสย วิชัย ประเสริฐเจริญสุข อังคณา เจริญมี
ผศ.กสิณ ประกอบไวทยกิจ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์
Engineering Electronics อิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม กลุ่ม 4
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
Present Portfolios Website Maker by TONG TEL
บทที่ 10 และการเขียน Abstract และการเขียนบทที่ 5
Electrical Engineering
Stepper motor.
Application of PID Controller
DC motor.
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
บทที่ 10 และการเขียน Abstract และการเขียนบทที่ 5.
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การหาค่าพารามิเตอร์เพื่อจำลองการทำงานของมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส P1 การหาค่าพารามิเตอร์เพื่อจำลองการทำงานของมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส กฤษ เฉยไสย ประยงค์ เสาร์แก้ว ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จ.ขอนแก่น E-mail: krit@elec.kku.ac.th , prayong_s@thaimail.com

พารามิเตอร์ของมอเตอร์ P2 บทคัดย่อ พารามิเตอร์ของมอเตอร์ ศึกษาการทำงานของ IM Motor Control

วงจรเสมือนมอเตอร์เหนี่ยวนำ P3 1. บทนำ มอเตอร์เหนี่ยวนำ วงจรเสมือนมอเตอร์เหนี่ยวนำ

2. หลักการหาค่าพารามิเตอร์มอเตอร์เหนี่ยวนำ P4 2.1 มอเตอร์อยู่นิ่ง ในสภาวะที่มอเตอร์ยังไม่ทำงาน จากโครงสร้างของมอเตอร์สามารถประมาณค่าความต้านทานสเตเตอร์ ได้จากการวัดค่าความต้านทานขดลวดสเตเตอร์โดยใช้โอห์มมิเตอร์ P4

มอเตอร์จะหมุนที่ความเร็วรอบสูงสุด ประมาณว่า s =0 และ Rs << XLm 2.2 มอเตอร์ทำงานที่สภาวะไม่มีโหลด มอเตอร์จะหมุนที่ความเร็วรอบสูงสุด ประมาณว่า s =0 และ Rs << XLm P5

P6 2.3 มอเตอร์ทำงานที่สภาวะโรเตอร์ถูกล็อคไม่ให้หมุน ค่าสลิป ( S=1) ของมอเตอร์จะมีค่าเป็นหนึ่ง P6

P7 ดังนั้น ค่าความต้านทานโรเตอร์คำนวณจากสมการ ค่าความเหนี่ยวนำในวงจร โดยทั่วไปจะประมาณค่าความเหนี่ยวนำรั่วสเตเตอร์เท่ากับค่าความเหนี่ยวนำรั่วโรเตอร์ P7

3. การจำลองการทำงานมอเตอร์เหนี่ยวนำ P8 จำลองการทำงานโดยใช้ไดนามิคโมเดล( Dynamic Model )ที่มีแกนอ้างอิงบนแกนหมุนซิงโครนัส ( Synchronously rotating references model ) P8

4. การทดสอบมอเตอร์เหนี่ยวนำ P9 4. การทดสอบมอเตอร์เหนี่ยวนำ เมื่อนำไปทดสอบหาค่าพารามิเตอร์ของมอเตอร์เหนี่ยวนำ ยี่ห้อ Mitsubishi รุ่น SF-JR ขนาด 3 , 2 Hp , 4 pole , 380 V , 3.5 A , 50 Hz , 1450 rpm 4.1 มอเตอร์อยู่นิ่ง วัดค่าความต้านทานของขดลวดสเตเตอร์โดยใช้ดิจิตอลโอห์มมิเตอร์ได้

P10 4.2 มอเตอร์ทำงานที่สภาวะไม่มีโหลด ผลการวัดค่าแรงดันและกระแสเฟสของมอเตอร์ Vun = 218.6 Vrms Iu = 1.79 A , f = 50 Hz , p.f. = 0.06 ,  = 86.4

P11 4.3 มอเตอร์ทำงานที่สภาวะโรเตอร์ถูกล็อคไม่ให้หมุน ผลการวัดค่าแรงดันและกระแสเฟสของมอเตอร์ Vun = 19.12 Vrms Iu = 1.42 A f = 50 Hz p.f. = 0.368 ,  = 68.4 

รูปที่ 8 กระแสเฟสของมอเตอร์ P12 4.4 ผลการจำลองการทำงาน รูปที่ 8 กระแสเฟสของมอเตอร์ I = 3.5 A ( rated ) Error = 5.87 %

รูปที่ 9 เฟสของแรงดันและกระแสของมอเตอร์ P13 รูปที่ 9 เฟสของแรงดันและกระแสของมอเตอร์

รูปที่ 10 ความเร็วรอบของมอเตอร์ P14 รูปที่ 10 ความเร็วรอบของมอเตอร์ speed = 1450 rpm ( rated ) Error = 1.03 %

รูปที่ 11 แรงบิดของมอเตอร์ P15 รูปที่ 11 แรงบิดของมอเตอร์

รูปที่ 12 สลิปของมอเตอร์ P16 รูปที่ 12 สลิปของมอเตอร์

รูปที่ 13 ทางเดินเส้นแรงแม่เหล็กที่สเตเตอร์ P17 รูปที่ 13 ทางเดินเส้นแรงแม่เหล็กที่สเตเตอร์

รูปที่ 14 ขนาดกระแสที่สเตเตอร์และโรเตอร์ P18 รูปที่ 14 ขนาดกระแสที่สเตเตอร์และโรเตอร์

P19 เปรียบเทียบมอเตอร์ทำงานที่สภาวะไม่มีโหลด Vun=218.6Vrms , Iu=1.69 A , f=50Hz ผลการ Simulation Vun = 218.6 Vrms Iu = 1.79 A , f = 50 Hz ผลการวัดค่าแรงดันและกระแสเฟสของมอเตอร์ Error=5.58%

P20 เปรียบเทียบมอเตอร์ทำงานที่สภาวะโรเตอร์ถูกล็อคไม่ให้หมุน Vun = 19.12 Vrms , Iu = 1.42 A , f = 50 Hz ผลการวัดค่าแรงดันและกระแสเฟสของมอเตอร์ ผลการ Simulation Vun=19.12 Vrms , Iu=1.45 A , f=50Hz Error=2.11%

P21 5. สรุป การหาค่าพารามิเตอร์ของมอเตอร์เหนี่ยวนำที่นำเสนอเป็นวิธีอย่างง่ายไม่ยุ่งยากและสามารถนำไปจำลองการทำงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ได้จริง สามารถศึกษาลักษณะของแรงดัน กระแส ความเร็วรอบ แรงบิด สลิป และเส้นแรงแม่เหล็กของมอเตอร์ได้ และให้ผลลัพธ์ที่ใกล้เคียงกับคุณสมบัติของมอเตอร์ที่ปรากฏบนเนมเพลท โดยมีค่าความผิดพลาดของกระแสเฟสที่ 5.87% และค่าความผิดพลาดของความเร็วที่ 1.03% เท่านั้น ซึ่งถือว่ามีความผิดพลาดน้อยมาก

ผู้เข้าร่วมฟังบรรยายทุกท่าน P22 ขอขอบคุณ ผู้เข้าร่วมฟังบรรยายทุกท่าน