ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
School of Business Administration BANGKOK UNIVERSITY
Advertisements

ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
คำอธิบายรายวิชา ระบบธุรกิจ วัฏจักรของการพัฒนาระบบงาน ระเบียบ วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ ผังงานระบบ ตารางและการตัดสินใจ การศึกษาความเป็นไปได้ของระบบการวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการลงทุนในการพัฒนา.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัย RESEARCH.
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
ผู้สอน อาจารย์จุฬาวลี มณีเลิศ
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
การเงิน.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
The 5 most satisfied items
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
ความรู้พื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
: E-Business Strategy กลยุทธ์การทำธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
การวิจัยธุรกิจและระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
Introduction to Business Information System MGT 3202
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
แนะนำรายวิชาและ กำหนดข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design

นางสาวทัศนีย์ ศรีภุมมา
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
บทบาทของข้อมูลการตลาด
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

01131491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน Basic Research Methods in Finance เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ คณะวิทยาการจัดการ 1-2 : 20/22-27-29 ส.ค. 57

วิชาพื้นฐาน : 01131211 Business Finance 01131491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน 3 หน่วยกิต Research Methods in Finance วัน/เวลา/สถานที่ : หมู่ 800 วันพุธ เวลา 8.30 - 11.30 น. ห้อง 10209 หมู่ 850 วันศุกร์ เวลา 16.30 - 19.30 น. ห้อง 10209 วิชาพื้นฐาน : 01131211 Business Finance นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำนอกเวลาเรียน - วันจันทร์ เวลา 14.00-16.00 น. - วันพุธ/วันพฤหัสบดี/วันอาทิตย์ เวลา 14.00-17.00 น. - วันหรือเวลาที่เหมาะสม โดยนัดหมายศูนย์การเรียน คณะวิทยาการจัดการ : http : //www.ms.src.ku.ac.th : E-mail fmstss@src.ku.ac.th : Tel. 08-0663-3707

วัตถุประสงค์ของวิชา (Objective of Subject) : 01131491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน 3 หน่วยกิต Research Methods in Finance วัตถุประสงค์ของวิชา (Objective of Subject) : 1. เพื่อให้นิสิตเพื่อให้นิสิตมีความเข้าใจถึงบทบาทและความสำคัญของการวิจัย ทางการเงิน หลักการและแนวทางการวิจัย รวมทั้งประโยชน์ของงานวิจัย ที่มีต่อการบริหารและจัดการทางการเงิน 2. เพื่อให้เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับหลักการ ระเบียบวิธีวิจัย ขั้นตอนและ กระบวนการในการดำเนินงานวิจัยตั้งแต่กำหนดประเด็นปัญหาจนถึงการเขียน รายงานการวิจัยและเสนอผลงานวิจัยทางธุรกิจและการเงิน 3. เพื่อให้นิสิตมีทักษะความชำนาญ ความสามารถเชิงการวิเคราะห์ และการ ปฏิบัติทางการวิจัยทางการเงินทุกขั้นตอนตามหลักวิชาการ พร้อมทั้งการ ประยุกต์ใช้ การวิจัย สถิติเพื่อการวิจัยและโปรแกรมสำเร็จรูปในการ วิเคราะห์ข้อมูลสำหรับการตัดสินใจทางการเงิน

คำอธิบายรายวิชา (Course Description) : 01131491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน 3 หน่วยกิต Research Methods in Finance คำอธิบายรายวิชา (Course Description) : หลักและระเบียบวิธีการวิจัยทางการเงิน การกำหนดปัญหา การวางรูปการ วิจัย การตั้งวัตถุประสงค์ และสมมติฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูล การสร้าง แบบสอบถาม การวิเคราะห์และตีความข้อมูล การใช้สถิติสำหรับการวิจัย การ เขียนรายงานและการเสนอผลการวิจัย Principles and research methods in finance, identification of research problems, formulation of research objectives and hypotheses, collection of data, construction of questionnaire, data analysis and interpretation, application of statistics of research, report writing and presentation .

วิธีการสอนและระบบสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ : 01131491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน 3 หน่วยกิต Research Methods in Finance วิธีการสอนและระบบสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ : - การบรรยาย ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง/กลุ่ม การฝึกปฏิบัติการ - การค้นคว้าผลงานวิจัย การรวบรวมผล การวิเคราะห์วิจารณ์ การอภิปรายแบบมีส่วนร่วม - การจัดทำโครงการวิจัย เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลและนำเสนอ โดยที่มีงานค้นคว้าศึกษาเพิ่มเติมความรู้ และการฝึกปฏิบัติการตาม การมอบหมายให้ค้นคว้าจัดทำการวิจัยและรายงานผลการวิจัยด้วยตนเอง

1. เอกสารประกอบการสอน อุปกรณ์สื่อการสอน : 2. ตำราและหนังสือ 01131491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน 3 หน่วยกิต Research Methods in Finance อุปกรณ์สื่อการสอน : 1. เอกสารประกอบการสอน 2. ตำราและหนังสือ 3. เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องฉาย LCD และเครื่องฉายวัตถุ 3 มิติ 4. เครื่องคอมพิวเตอร์ฝึกปฏิบัติการ โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และเครื่องพิมพ์ 5. แบบฝึกหัด คู่มือการลงรหัส กระดาษลงรหัสและสื่อบันทึกข้อมูล

การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน : 01131491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน 3 หน่วยกิต Research Methods in Finance การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน : 1. การมีส่วนร่วมและความสนใจในการเรียน โดยการเข้าร่วม ร้อยละ 10 รับฟังคำบรรยายอย่างสม่ำเสมอและอภิปราย แลกเปลี่ยนประสบการณ์ 2. การทดสอบ แบบฝึกหัดและงานที่มอบหมายในชั้นเรียน ร้อยละ 15 3. การทำรายงานการวิจัย ร้อยละ 35 4. การสอบกลางภาค ร้อยละ 20 5. การสอบปลายภาค ร้อยละ 20 หมายเหตุ : การเปลี่ยนแปลงจะต้องตกลงร่วมกันระหว่างนิสิตและผู้สอน

การประเมินผลการเรียน : 01131491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน 3 หน่วยกิต Research Methods in Finance การประเมินผลการเรียน : สูงกว่า 79.9 คะแนน ระดับคะแนน A หรือ 4.0 75.0 - 79.9 คะแนน ระดับคะแนน B+ หรือ 3.5 70.0 - 74.9 คะแนน ระดับคะแนน B หรือ 3.0 65.0 - 69.9 คะแนน ระดับคะแนน C+ หรือ 2.5 60.0 - 64.9 คะแนน ระดับคะแนน C หรือ 2.0 55.0 - 59.9 คะแนน ระดับคะแนน D+ หรือ 1.5 50.0 - 54.9 คะแนน ระดับคะแนน D หรือ 1.0 ต่ำกว่า 50.0 คะแนน ระดับคะแนน F หรือ 0.0

1. นิสิตจะต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 36 ชั่วโมง 01131491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน 3 หน่วยกิต Research Methods in Finance ข้อกำหนดในการเรียน : 1. นิสิตจะต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 36 ชั่วโมง 2. นิสิตที่แต่งกายไม่เรียบร้อยจะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าชั้นเรียน 3. นิสิตต้องไม่ส่งเสียงรบกวนในขณะสอนอันจะมีผลทำให้การเรียน การสอนขาดคุณภาพ 4. นิสิตต้องเข้าร่วมการฝึกปฏิบัติการและการจัดทำรายงานการวิจัยกลุ่มอย่างสม่ำเสมอ 5. นิสิตเข้าเรียนสายหรือลากิจ 2 ครั้ง เท่ากับขาดเรียน 1 ครั้ง

เหตุผลการวิจัยธุรกิจ การวิจัยทำให้เกิดความรู้และความชำนาญที่ต้องการสำหรับการ ตัดสินใจที่รวดเร็วภายใต้สภาวะแวดล้อมที่ถูกกำหนด : 1. ปัจจัยในการพิจารณาสภาพแวดล้อมและตัดสินใจดำเนินงาน ทางธุรกิจขององค์กรต่างๆ มีปริมาณมากขึ้น 2. การแข่งขันของธุรกิจมีมาก และรุนแรงขึ้นทั้งระดับภายใน ประเทศและระดับโลก องค์กรจำเป็นต้องปรับตัว 3. องค์ความรู้ต่างๆ ทางธุรกิจเจริญก้าวหน้ามากขึ้น : ระดับ คุณภาพทฤษฎีและแบบจำลอง 4. สารสนเทศต่างๆ มีอยู่มากมายบนเครือข่ายโลก (World Wide Web, WWW)

เหตุผลการวิจัยธุรกิจ 5. องค์กรต่างๆ นิยมทำเหมืองข้อมูล (Data Mining) ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลจำนวนมากเพื่อหากฎเกณฑ์ การเรียนรู้และหาความรู้ที่ มีอยู่ในระบบฐานข้อมูลสารสนเทศในองค์กร (Internal Databases) 6. ความก้าวหน้าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วยให้ภาคธุรกิจสร้าง คลังข้อมูล (Data Warehousing) 7. บุคลากร พนักงาน/เจ้าหน้าที่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้าและสาธารณชน ทั่วไปสามารถแสวงหาสารสนเทศได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว 8. เทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณช่วยการคำนวณได้รวดเร็วขึ้น ในการแก้ไขปัญหาองค์กร 9. จำนวนและขีดความสามารถเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการวิจัย เพิ่มขึ้น เช่น โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ เครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบ สารสนเทศและการพัฒนาเทคนิค

เหตุผลการวิจัยธุรกิจ 10. พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาตาม สถานการณ์และความต้องการ 11. ความต้องการลดความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมที่มีความ ซับซ้อน ขึ้นและทรัพยากรมีจำกัด แต่ความต้องการบริโภคหรือใช้ บริการมากขึ้น 12. ภาคธุรกิจมีการพัฒนาองค์กรอย่างมาก และเกิดความทันสมัย ประกอบกับภาวะโลกาภิวัตน์ทำให้สามารถเชื่อมโยงของภาคการผลิต การค้า และพาณิชยกรรมทั่วทุกพื้นที่และทั่วโลกใกล้ชิดกันมากขึ้น

ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร การแก้ไขปัญหาทางการจัดการที่เกิดขึ้น โดยนักบริหารนักบริหาร การเงิน-บัญชี จะเสนอข้อมูลหรือต้องตัดสินใจเกี่ยวกับ: - การตัดสินใจลงทุน (Investment Decision) - การตัดสินใจแสวงหาเงินทุน (Financial Decision) - การตัดสินใจการจ่ายเงินปันผล (Dividend Decision) การวางแผนเพื่อกำหนดแนวทางที่เหมาะสมในการบรรลุตาม เป้าหมายองค์กร 3. การให้สารสนเทศประกอบการตัดสินใจขององค์กร 4. การควบคุม และตรวจสอบระบบการเงิน-บัญชีให้มีเสถียรภาพและมั่นคงอย่างถูกต้อง สร้างความต้องการเสนอให้กับลูกค้า ผู้บริโภคหรือผู้ใช้บริการ แทนที่จะให้ลูกค้าเรียกร้องก่อน

ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร ปัญหาที่เกิดขึ้น หรือ แผนงาน ที่กำลังพัฒนา การแก้ปัญหา/งาน พัฒนาของผู้บริหาร ข้อมูลที่ถูกต้อง และเชื่อถือได้ ทางเลือก ที่เกิดขึ้น - Primary Data - Secondary Data ทางเลือก ที่เลือก

ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร สภาพแวดล้อม แนวทางและ ทางเลือกทาง การตลาด แนวทางหรือ ทางเลือก ที่ดีที่สุด ปัญหาและ เหตุการณ์ ทางการตลาด ข้อมูล ความต้องการ ของผู้บริโภค ความพอใจ แผนการทาง การตลาด

ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร สร้างความต้องการ ให้กับลูกค้า 4 Ps Product Price Place Promotion การตอบสนอง ความต้องการ ของผู้บริโภค ให้ได้รับความ พึงพอใจสูงสุด การตลาด พฤติกรรม ลูกค้า

ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร คุณสมบัติของข้อมูลที่ใช้ในการวางแผน มีความเกี่ยวข้อง (Relevance) มีคุณภาพ (Quality) มีความทันสมัย (Timeless) มีความสมบูรณ์ (Completeness)

ประโยชน์การวางแผนทางธุรกิจ 1. รับรู้แนวทางในการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ 2. ง่ายต่อการควบคุมและประเมินผล 3. สามารถกำหนดกิจกรรมทางธุรกิจช่วงเวลาต่างๆ อย่างเหมาะสม 4. สามารถคาดการณ์หรือพยากรณ์ปัญหาที่จะเกิดขึ้นได้ล่วงหน้าในอนาคต 5. ดำเนินการแก้ไขปัญหา ปรับปรุงและพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพ

คุณค่าของการมีทักษะการวิจัย เพื่อเป็นการรวบรวมสารสนเทศต่างๆ ก่อนลงมือในการปฏิบัติงาน ซึ่ง สามารถป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น เพื่อสามารถใช้ในการศึกษาวิจัยและแสวงหาความรู้ระดับสูงที่มีความลึกซึ้ง ต่อไป เพื่อทำให้เกิดความเข้าใจในการออกแบบวิจัย ขั้นตอนและกระบวน การวิจัย เพื่อสามารถประเมินและแก้ปัญหาทางการบริหารในองค์กรอย่าง ถูกต้องและรวดเร็ว เพื่อสร้างอาชีพเป็นผู้เชี่ยวชาญทางการวิจัยทางการตลาดและธุรกิจ หรือการวิจัยด้านต่างๆ