(พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการ
Advertisements

กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
วิธีการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ นายบรรทูรย์ ราชิวงค์
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ชุมนุม YC.
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
ขั้นตอนที่ 1 ระบุปัญหาของนโยบายสาธารณะในชุมชนของท่าน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
คุณสมบัติ ของ Smart Farmer -  1. รายได้ไม่ต่ำกว่า 180,000 บาท/ครัวเรือน/ปี  2. ผ่านคุณสมบัติพื้นฐาน (ผ่านอย่างน้อย 1 ตัวบ่งชี้ ของคุณสมบัติแต่ละด้าน)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ความเป็นมา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีความปลื้มปิติและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ.
โครงการศูนย์บริการประชาชนเคลื่อนที่ในเขตปฏิรูปที่ดินจังหวัดกระบี่
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
เครื่องหมายรับรอง “Q ”และ “Q Premium”
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายอามะ แวดราแม
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
คำอธิบายเกษตรหมู่บ้าน
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
การดำเนินงาน และพัฒนายุวเกษตรกร
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
วิชา หลักการตลาด บทที่ 10 การส่งเสริมการขายโดยใช้บุคคล
กลุ่ม ๓ (สีเขียว) วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค และ แนวทางในการพัฒนาพรรคการเมือง ได้เป็น” สถาบันทางการเมือง” ที่เข้มแข็ง.
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
“ปรีชา....” มาเล่า.... สู่กันฟัง....
หัวข้อสัมมนา กลุ่มที่ 3 การฝึกอบรมของ ส. ป. ก. ควร อบรมอย่างไรบ้าง ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ควรจัดทำ หลักสูตรอย่างไร การดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรรุ่น ใหม่ จะทำอย่างไร.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ประชาสัมพันธ์การรับลงทะเบียนผู้สูงอายุและผู้พิการ ประจำปีงบประมาณ 2555
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
A.L.T.C. 12/1 เสฏฐนันท์ อังกูรภาสวิชญ์ L.T. ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว) บทบาทอาสาสมัครเกษตรในการจัดการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน “...อาสาสมัครจะต้องระลึกอยู่เสมอว่า ศรัทธาในงานอาสาสมัครเพื่อช่วยเหลือผู้อื่นนั้นเกิดขึ้นด้วยตนเอง...มีความเห็นชอบในงานอาสาสมัคร...มีศรัทธาที่จะทำงาน...มีเวลาที่จะปฏิบัติงาน...และมีความพร้อมที่จะเป็นอาสาสมัคร.....” (พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว) สุขสันต์ มุกดาสนิท

บทบาทอาสาสมัครเกษตรในการจัดการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน อาสาสมัครเกษตร (อกษ) หมายถึง อาสาสมัครประเภทต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และเกษตรกรที่สมัครใจ ขึ้นทะเบียนตามระเบียบกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ว่าด้วยการบริหารงานอาสาสมัครเกษตร พ.ศ.2548

คุณสมบัติของอาสาสมัครเกษตร (อกษ) สัญชาติไทย เป็นผู้ประกอบอาชีพการเกษตร/สนใจในอาชีพการเกษตร มีภูมิลำเนาอยู่ในหมู่บ้านหรือชุมชนนั้น มีคุณลักษณะเป็นผู้นำ มีมนุษยสัมพันธ์ มีความคิดริเริ่ม สนใจต่อเหตุการณ์และสภาพแวดล้อมในชุมชน สมัครใจและเต็มใจเสียสละในการทำงานเพื่อช่วยเหลือ บุคคลอื่น ชุมชนและส่วนร่วม

ลักษณะของคนที่จะเป็นอาสาสมัคร 1. ทำงานด้วยความสมัครใจ ไม่ใช่เพราะถูกบังคับ หรือเพราะเป็นหน้าที่ที่จะต้องทำ 2. ทำงานเพื่อ ประโยชน์ส่วนรวม ไม่ใช่แอบแฝงเข้ามาเพื่อจะหาประโยชน์ส่วนตน 3. ทำงานโดย ไม่หวังผลตอบแทนเป็นเงิน ผลตอบแทนที่อาสาสมัครได้รับคือความสุขใจ ภูมิใจที่ได้ทำประโยชน์สุขแก่บุคคล ส่วนรวม และชุมชน

บทบาทหน้าที่ของอาสาสมัครเกษตร 1. ประชาสัมพันธ์งาน/โครงการของ กษ. ให้ ปชช.เข้าร่วมกิจกรรม ให้ข้อมูล แจ้งเตือนภัยธรรมชาติแก่หน่วยงาน 2. ประสานงาน ช่วยเหลือ ให้ข้อเสนอแนะภาครัฐในการแก้ไขปัญหาของเกษตรกรในหมู่บ้าน/ชุมชน 3. ถ่ายทอดความรู้ ให้คำแนะนำ คำปรึกษาด้านการเกษตรและ เป็นวิทยากรเกษตรหรือสหกรณ์ 4. ปฏิบัติงานใด ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อเกษตรกร/ชุมชน หรือตามที่ กษ.ขอความช่วยเหลือ

ขั้นตอนการนำอาสาสมัครเกษตรมาร่วมปฏิบัติงานโครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน 1. กำหนดความจำเป็น/ความต้องการของอาสาสมัคร/องค์กร * งานนี้สำคัญอย่างไร * ต้องทำที่ไหน * จำเป็นที่ต้องมีการอบรมก่อนหรือไม่ในการทำงานนี้

ขั้นตอนการนำอาสาสมัครเกษตรมาร่วมปฏิบัติงานโครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน 2. อธิบายรายละเอียดของงาน * ขอบเขตของกิจกรรม/งาน * ความรับผิดชอบของอาสาสมัคร * ระยะเวลาที่ต้องทำให้สำเร็จ * ทักษะที่จำเป็นสำหรับอาสาสมัคร * จำนวนอาสาสมัครที่ต้องการ

ขั้นตอนการนำอาสาสมัครเกษตรมาร่วมปฏิบัติงานโครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน 3. ระบุกลุ่มอาสาสมัครที่ต้องการ * ระบุความชำนาญของอาสาสมัครที่ต้องการในกรณีเป็นกิจกรรม เฉพาะที่ต้องอาศัยความรู้/ทักษะ เฉพาะกับกิจกรรมอาสานั้น ๆ ซึ่งในโครงการนี้อาสาสมัครที่เหมาะคืออาสาสมัคร GAP และ อาสาสมัครเกษตรกรผู้นำ * คัดเลือกอาสาสมัคร * กรณีเป็นกิจกรรมพัฒนาในชุมชนทั่วไป ควรใช้แบบบูรณาการอาสาสมัครเกษตร ทุกสาขาร่วมกัน และอาจร่วมกับอาสาสมัครองค์กรอื่น ๆ ได้

ขั้นตอนการนำอาสาสมัครเกษตรมาร่วมปฏิบัติงานโครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน 4. ระบุระยะเวลาปฏิบัติงาน (เริ่มต้น/จนจบ) * การเตรียมการประชาสัมพันธ์ก่อนเริ่มงานให้ชุมชน/ ประชาชนทราบ (ถ้ามี) * ระยะเวลาอาจมีการขยายเพิ่มได้ขึ้นกับการเตรียมการและ สถานการณ์ในพื้นที่

ขั้นตอนการนำอาสาสมัครเกษตรมาร่วมปฏิบัติงานโครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน 5. การระดมสมองทางความคิดเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงาน ตามโครงการ/กิจกรรมอาสา * ควรให้โอกาสอาสาสมัครที่คัดเลือกไว้แล้วมีส่วนร่วม เสนอและตัดสินใจทางเลือกวิธีการทำงาน

ขั้นตอนการนำอาสาสมัครเกษตรมาร่วมปฏิบัติงานโครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน 6. การอบรมอาสาสมัคร 7. การปฏิบัติงาน * เกษตรอำเภอเป็นผู้บริหารโครงการ/กิจกรรมอาสาสมัคร ในระดับอำเภอ * เกษตรตำบลเป็นผู้จัดการกิจกรรมอาสาสมัครระดับตำบล

สวัสดี......