ความสำคัญของการคิด และการประเมินการคิด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
Advertisements

โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ของเด็กแต่ละวัย
ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge)
คุณคิดว่าเค้าคนนี้คือใคร ? ก. ผู้ชาย ข. ผู้หญิง ค. ผู้หญิง + ผู้ชาย ง. ถูกทุกข้อ.
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
เราบอกความจริงแก่ท่านทั้งหลายว่า ถ้าท่านมีความเชื่อและไม่สงสัย
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge)
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
สรุปวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society) ดร
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
Poster Presentation โดย สำหรับ การประชุม สคร.5 รศ.นพ.สมพนธ์ ทัศนิยม
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
การพัฒนาจิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน.
Knowledge Management (KM)
วิธีคิดนอกกรอบ สร้างสรรค์อย่าง มีไอเดียแบบเฉพาะตัว
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
Creative Thinking : ความคิดสร้างสรรค์
ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์ วิธีคิดแบบนักบริหาร ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
สุขภาพจิต และการปรับตัว
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คำทำนายธิเบต สำหรับคุณ
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)
วิธีคิดแบบนักบริหาร ดร. พนม พงษ์ไพบูลย์
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
แบบฝึกคิดวิเคราะห์จากภาพ
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
แนวคิดจากกิจกรรมเลือกสัตว์
เห็นภาพนี้หมุนทวนเข็ม หรือ ตามเข็มนาฬิกา
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
บทที่ 11.
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
ข้อได้เปรียบ เป้าหมาย อุปสรรค ลักษณะร่วมสมัย
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
การวัดทางด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
เกณฑ์การตัดสินทางจริยธรรม
การพัฒนาตนเอง.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
โดย ซานูซี เบญจ มันต์ การจัดกิจกรรม การเรียนการสอน ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา 19 พฤศจิกายน 2552.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความสำคัญของการคิด และการประเมินการคิด สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

การคิดคืออะไร กลไกอย่างหนึ่งของสมอง ในขณะที่มนุษย์กำลังคิด สมอง จะดึงเอาข้อมูลหรือประสบการณ์ต่างๆ ที่อยู่ในความทรงจำมารวมเข้ากับความคิดใหม่ๆ ให้เป็นเรื่องราว ถ้าเป็นการคิดที่มีเป้าหมายเฉพาะเจาะจง จะเป็นการจัดเรียงข้อมูลที่สมองได้รับและทำการแปลความหมายข้อมูลข่าวสารในรูปแบบที่เหมาะสมเพื่อนำไปสู่เป้าหมายที่วางไว้

สมองทำงานอย่างไร

ทดสอบการทำงานของสมอง อ่านคำต่อไปนี้ แล้วพูดสีของคำแต่ละคำออกมา (พูดชื่อสีของตัวอักษร ไม่ใช่อ่านคำ เช่น คำแรกพูดว่า เขียว) เหลือง น้ำเงิน ส้ม ดำ แดง เขียว ดำ เหลือง ส้ม ม่วง น้ำเงิน เขียว ดำ น้ำเงิน เขียว เหลือง

การทดสอบว่าเราใช้สมองซีกไหนในการรับ-ส่งข้อมูลกันบ้าง การกอดอก คนที่เอาแขนซ้ายไว้ด้านบน คือ คนที่ใช้สมอง ซีกขวาเป็นหลักในการรับส่งข้อมูล (ภาษา การให้เหตุผลและการวิเคราะห์) คนที่เอาแขนขวาไว้ด้านบน คือ คนที่ใช้สมอง ซีกซ้ายเป็นหลักในการรับส่งข้อมูล (สร้างสรรค์)

การทดสอบว่าเราใช้สมองซีกไหนในการรับ-ส่งข้อมูลกันบ้าง การประสานมือ เอามือทั้ง 2 ข้างประกบกันเหมือนพนมมือ แล้วกำนิ้วมือลงมาให้นิ้วแต่ละข้างไปอยู่บนหลังมือของอีกข้างหนึ่ง ลักษณะเหมือนการอ้อนวอนพระเจ้าของศาสนาคริสต์ หรือคล้ายการเล่นวอลเล่ย์บอล คนที่ใช้นิ้วหัวแม่มือข้างซ้ายอยู่ด้านบนของนิ้วหัวแม่มือด้ายขวา คือ คนที่ใช้สมองซีกขวาเป็นหลักในการรับข้อมูล (สร้างสรรค์) คนที่ใช้นิ้วหัวแม่มือข้างขวาอยู่ด้านบนของนิ้วหัวแม่มือด้านซ้าย คือ คนที่ใช้สมองซีกซ้ายเป็นหลักในการรับข้อมูล (เหตุผลและการวิเคราะห์)

ความสำคัญของการคิด 1. การกำหนดความเป็นตัวเรา 2. การคิดเป็นพื้นฐานของการตัดสินใจ 3. การคิดนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญต่างๆ ของโลก 4. สร้างความสามารถในการแข่งขันในสังคมแห่งความรู้

ทำไมคนเราต้องคิด 1. ความต้องการทางกายภาพ เป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ ขึ้นอยู่กับความสามารถในการคิดและการใช้เหตุผลของแต่ละคน 2. ความอยู่รอด มีการแข่งขันและแก่งแย่งกันมากขึ้นเพื่อให้สามารถ ดำรงชีวิตที่ดีกว่า 3. ปัญหา เป็นต้นเหตุให้คิดเพื่อหาเหตุผลที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา ทำให้สิ่งต่างๆ ดีขึ้นหรือดีกว่าเดิม 4. ความต้องการสิ่งแปลกใหม่ การคิดและจินตนาการเป็นสิ่งที่ทำให้ มนุษย์เหนือกว่าสรรพสัตว์ทุกชนิด 5. ความสงสัย เนื่องจากต้องการแสวงหาความจริง เมื่อมีข้อมูล จึงต้องการหาคำตอบ

อุปสรรคที่มีต่อการคิดของเรา 1. การที่เราตอบสนองตามความเคยชิน มนุษย์เรียนรู้สิ่งต่างๆ อย่างรวดเร็ว และสามารถแก้ปัญหาที่คล้ายๆ เดิมอย่างอัตโนมัติ 2. การด่วนสรุป มีความเชื่อบางอย่างในใจ จึงรีบเชื่อทันทีโดยขาดความ ระมัดระวัง 3. แรงจูงใจไม่ถูกต้อง บางครั้งเกิดจากแรงจูงใจภายนอก ซึ่งอาจไม่คำนึงถึง เหตุผลหรือความจำเป็น 4. การขาดทักษะการคิด ไม่มีการจัดระเบียบในการคิด การตีความข้อมูลที่ ได้รับมาไม่ถูกต้อง 5. การทิ้งเหตุผลอย่างมีอคติ แต่ละคนมีการมองโลกที่แตกต่างกัน โดยมาก จะขึ้นอยู่กับวัฒนธรรม ค่านิยม การศึกษา ครอบครัว ตลอดจน ประสบการณ์ มักจะประเมินให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมของตน

อ่านนิทาน “กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว... ...อดีตกาลสู่อนาคตหรือปัจจุบัน” (ส.วาสนา ประวาฬพฤกษ์, 2543)

ตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ปัจจุบัน ท่านวัดผลในชั้นเรียนแบบท่านใด ก. คุณครูบัณฑิต ข. ศน.บัณฑิต ค. ว่าที่ ดร.บัณฑิต 2. ถ้าท่านเป็น ว่าที่ ดร.บัณฑิต จะทำอย่างไร