การจัดการความขัดแย้ง (Conflict Management)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
Advertisements

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การประสานงาน.
หน้าที่ของผู้บริหาร.
ความเดิมจากตอนที่แล้ว
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
The Power of Communication
การสื่อสารภายในองค์การ
Research Problem ปัญหาการวิจัย
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
การบริหารกลุ่มและทีม
EQ หลักสูตร การบริหารอารมณ์ สู่การทำงานอย่างมืออาชีพ
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ความขัดแย้ง ( Conflict )
การสื่อสารภายในองค์การ Communication in Organization
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทเกม (Game).
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
การสื่อสารเพื่อการบริการ
การบริหารความขัดแย้ง
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 12.
“การพัฒนากลุ่มเกษตรกรที่ร่วมโครงการฯ ให้เกิดความเข้มแข็ง”
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
( Organization Behaviors )
การจูงใจ (Motivation)
สุขภาพจิต และการปรับตัว
การติดต่อสื่อสารในการทำงาน
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
(Individual and Organizational)
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
การแก้ไขปัญหาและการจัดการความขัดแย้ง
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
Participation : Road to Success
การบริหารและกระบวนการวางแผน
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
( Human Relationships )
การใช้อำนาจและอิทธิพล
การสั่งการและ การมอบหมายงาน
Chris Argyris ( คริส อาร์กีริส )
รศ.ดร. เปรื่อง กิจรัตน์ภร
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ประมวลผลการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตร E Learning "นพลักษณ์ฯ ขั้นต้น” 5 มิถุนายน -18 กันยายน 2551 สวทช. นำประสบการณ์จากกิจกรรมเชื่อโยงกับ Core Competency.
โดย... นายชัยวัฒน์ ร่างเล็ก ผู้อำนวยการสำนักงานคุมประพฤติจังหวัดระยอง
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
บทที่ 4 หลักและวิธีการพัฒนาชุมชน
บทบาทของข้อมูลการตลาด
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
Change Management.
มนุษยสัมพันธ์ ( Human Relations )
วิพากษ์วิจารณ์ข้อดีของทฤษฎี
Simulation Simulation เป็นเทคนิคที่จำลองสิ่งหรือ เหตุการณ์ที่เป็นจริงมาให้ผู้เรียน ผู้เรียน สามารถปฏิบัติการกับการจำลองนั้นได้ เสมือนอยู่ในสถานการณ์ที่เป็นจริง.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 6 ความคิดสร้างสรรค์และ กลยุทธ์การสร้างสรรค์งานโฆษณา
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
Organization Behavior
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการความขัดแย้ง (Conflict Management) 4 ยุทธนา พรหมณี การจัดการความขัดแย้ง (Conflict Management)

ความหมายของความขัดแย้ง สภาพการณ์ที่ทำให้คนตกอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถตัดสินใจหรือตกลงหาข้อยุติอันเป็นที่พอใจของทั้งสองฝ่ายได้ สภาพการณ์หรือสถานการณ์ที่เป็นความแตกต่างที่บุคคล 2 คน หรือมากกว่าแสดงพฤติกรรมเปิดเผยออกมาอย่างแตกต่างกัน

ประเภทของความขัดแย้ง ประเภทที่ 1. ความขัดแย้งภายในตัวบุคคล (Intrapersonal Conflict) ประเภทที่ 2 ความขัดแย้งระหว่างบุคคล (Interpersonal Conflict) ประเภทที่ 3 ความขัดแย้งภายในกลุ่ม (Intragroup Conflict) ประเภทที่ 4 ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม (Intergroup Conflict) ประเภทที่ 5 ความขัดแย้งในองค์การ (Intraoganizational Conflict) ประเภทที่ 6 ความขัดแย้งระหว่างองค์การ (Interoganizational Conflict)

สาเหตุของความขัดแย้ง ลักษณะงานที่ต้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน (Task interdependence) อุปสรรคของการติดต่อสื่อสารหรือการสื่อข้อความ (Communication obstruction) แข่งขันเพื่อแย่งชิงทรัพยากรที่มีจำกัด (Competition for limited sources) การกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของงานไม่ชัดเจน (Ambiguously defined responsibilities)

ผลของความขัดแย้ง (outcomes of conflict) ผลเสียของความขัดแย้ง  สัมพันธภาพระหว่างบุคคลเสื่อมลงไป บรรยากาศของความจริงใจ และความไว้วางใจจะหมดสิ้นไป เกิดการต่อต้านทั้งโดยลับและเปิดเผย  ผู้แพ้มักจะหลบหนีสังคม  เก็บเนื้อเก็บตัว ผู้ชนะก็มักจะตีปีกร่าเริง

ผลของความขัดแย้ง (outcomes of conflict) ผลดีของความขัดแย้ง ความขัดแย้งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ช่วยให้มีการปรับปรุงทางเลือกในการแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ช่วยให้เกิดการพิสูจน์หาข้อเท็จจริงที่สมเหตุสมผล ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์สิ่งแปลกใหม่ขึ้น เรียนรู้การอดกลั้นต่อพฤติกรรมและอารมณ์ของผู้อื่นมากขึ้น

รูปแบบของพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความขัดแย้ง (conflict reaction styles) การหลีกเลี่ยง (avoiding) การยินยอมให้ผู้อื่น (accommodating การแข่งขัน (competing) การประนีประนอม (compromising) การร่วมมือซึ่งกันและกัน (collaborating)

วิธีแก้ไขความขัดแย้ง วิธีการแก้ไขความขัดแย้งที่เกี่ยวกับบุคคล การจัดการความขัดแย้งเกี่ยวกับโครงสร้าง

วิธีการแก้ไขความขัดแย้งที่เกี่ยวกับบุคคล การบังคับ (Force) การหลบหนี (Withdrawal หรือ Avoidance) การประนีประนอม (Compromise) การปรองดอง (Accommodation) การแก้ปัญหาหรือการร่วมมือกัน (Problem Solving)

กลยุทธ์วิธีการแก้ไขความขัดแย้งที่เกี่ยวกับบุคคล การใช้บุคคลที่สาม (Third party) คือการใช้คนกลางที่ไม่ยุ่งเกี่ยวกับสถานการณ์ที่เป็นปัญหา มาทำหน้าที่ให้คำแนะนำไกล่เกลี้ย การใช้เป้าหมายอื่นที่สำคัญเหนือความขัดแย้ง (Super ordinate Goals) ในบางครั้งแม้จะมีความขัดแย้งเกิดขึ้นแต่ถ้ามีเหตุการณ์สำคัญที่มีเป้าหมายสูงกว่าความขัดแย้งที่มีอยู่ ทั้งสองฝ่ายจะมาร่วมมือกันและยุติการขัดแย้งที่มีอยู่ชั่วขณะหนึ่ง

การจัดการความขัดแย้งเกี่ยวกับโครงสร้าง เปลี่ยนแปลงกระบวนการ (Procedural Changes) เปลี่ยนแปลงโครงสร้างขององค์การ (Organizational Structure Changes) เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมขององค์การ (Physical Layout Changes)

บทบาทของผู้นำต่อปัญหา ความขัดแย้ง ให้ความสนใจกับประเภทต่างๆของความขัดแย้ง การติดต่อสื่อสารที่ชัดเจนต่อเนื่อง การสร้างเป้าประสงค์ หรือค่านิยมร่วม พิจารณาธรรมชาติของความเป็นอิสระซึ่งกันและกัน ต้องพร้อมที่จะเสี่ยง แสดงความมีอำนาจ ความสมดุลถูกต้องในการจูงใจ การสร้างความเห็นอกเห็นใจ

ผลของการแก้ไขความขัดแย้ง กรณีที่ 1 แพ้ – แพ้ (Lose – Lose) กรณีที่ 2 แพ้ – ชนะ (Lose – Win) กรณีที่ 3 ชนะ – แพ้ (Win – Lose) กรณีที่ 4 ชนะ – ชนะ (Win – Win)

หลักการที่จะแก้ความขัดแย้งแล้วได้ผล ชนะ – ชนะ ความขัดแย้งเป็นเรื่องปกติ และอาจเกิดขึ้นได้เสมอ ทั้ง 2 ฝ่าย มีทัศนคติในการช่วยกันแก้ปัญหามากกว่ามุ่งเอาชนะกันและกัน มีความจริงใจที่แสดงความต้องการที่แท้จริงออกมา หาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อช่วยการตัดสินใจ หลีกเลี่ยงการใช้คะแนนเสียงข้างมากเป็นข้อยุติ เอาใจใส่ซึ่งกันและกันและไม่เห็นแก่ตัว

สวัสดี สวัสดี