การโปรแกรมPLC.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1. ประกอบโครงสร้างหุ่นยนต์. (ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง)
Advertisements

การเขียนผังงาน (Flowchart)
Smart Surveillance SPEED DOME CAMERA.
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
แบบทดสอบวิชาคอมพิวเตอร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
หลังการประกอบเครื่อง บทที่ 8
ใบความรู้ 3 ระบบคอมพิวเตอร์.
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
ระบบบัส I2C I2C Bus System.
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
คอมพิวเตอร์.
การเขียนผังงาน.
Functional Programming
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
การพิมพ์เอกสารออกทาง เครื่องพิมพ์. การตรวจเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Print Preview เราสามารถตรวจสอบความถูกต้องของ เอกสารก่อนสั่งพิมพ์โดยใช้คำสั่ง Print Preview.
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
CPU ไม่รวม I/O PROCESSOR , MATH CO-PROCESSOR
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
การใช้บอร์ดควบคุมสำหรับ Robot 35 in 1
การต่อวงจรบนแผ่นโพโตบอร์ด
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
Flow Chart INT1103 Computer Programming
หน่วยนำเข้าข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
การเขียนอัลกอริทึม แบบโฟลวชาร์ต
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
Process.
Operators ตัวดำเนินการ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Symbol & Instance.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ม.4/2 โรงเรียนมัธยมวัดป่ามะไฟ
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
บทที่ 5 ขับเคลื่อนหุ่นยนต์ IPST-BOT
การสร้างสรรค์บทละคร.
หลักการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ภาพนี้ชื่อว่าอะไร ? ก. แถบเมนูบาร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flow chart).
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยรับเข้า ทำหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจำหลัก ปัจจุบันมีสื่อต่าง ๆ ให้เลือกใช้ได้มากมาย แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ 1.แป้นพิมพ์ (Keyboard) 2.เมาส์
การเขียนผังงาน (Flowchart)
เทคนิคการใช้ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
วัตถุประสงค์การใช้งาน PLC
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การโปรแกรมPLC

Statement list STL LADDER LAD Control system flow CSF ON Q 32.1 O I 32.0 S Q 32.0 A Q 32.0 L KT 100.0 SD T 1 A T 1 = Q 32.1 Statement list STL LADDER LAD Control system flow CSF

- ออร์แกนไนเซชันบล็อก (OB) เชื่อมต่อระบบควบคุมPLC กับโปรแกรมที่ควบคุมการทำงาน - โปรแกรมบล็อก (PB) บรรจุโปรแกรมที่เขียนขึ้นเรียกใช้ ด้วยคำสั่ง IUหรือ IC จากOB1 - ฟังก์ชันบล็อก (FB) บล็อกพิเศษสำหรับโปรแกรมที่เรียกใช้บ่อย - ดาต้าบล็อก (DB) เก็บข้อมูลสำหรับโปรแกรมควบคุม เช่น ค่าคงที่ในการนับ เป็นต้น - ซีเควนซ์บล็อก (SB) หรือ เอสบี เป็นบล็อกพิเศษ มีลักษณะ คล้าย ๆ กับ พีบี

รูปแบบของการเขียนแผนผังแลดเดอร์ - โหลดความต้านทานหรือคอยล์ วางด้านขวา - หน้าสัมผัส วางไว้ด้านซ้าย - อุปกรณ์ต่อขนานกับอุปกรณ์อื่น เรียกว่ากิ่ง - สัญลักษณ์ในแผนภาพจะถูกแสดงไว้ในสถานะปกติ และจะ เปลี่ยนสถานะเมื่อตัวอุปกรณ์เกิดการทำงาน (energized) - อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่หยุดการทำงาน (STOP) จะต่ออนุกรม - อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เริ่มการทำงาน (START) จะถูกต่อแบบขนาน

ข้อแนะนำในการเขียนแผนผังแลดเดอร์ - กำหนดกระบวนการที่ต้องการจะควบคุม - ร่างแบบกระบวนการทำงานคร่าว ๆ โดยอุปกรณ์ทั้งหมด ได้ถูกกำหนดไว้ในแผนภาพนั้น - เขียนรายละเอียดของลำดับการทำงานแต่ละขั้นตอน ให้มากที่สุด อาจเขียนในรูปของประโยคคำพูด หรือเขียนลงในตาราง - ทำการเขียนแผนผังแลดเดอร์จาก ลำดับการทำงานที่ได้นั้น

การกำหนดสัญลักษณ์พื้นฐานในแผนผังแลดเดอร์ แทนหน้าสัมผัสปกติเปิด (N.O) แทนหน้าสัมผัสปกติปิด (N.C) แทนเอาท์พุทปกติไม่ทำงาน

วงจรปิด-เปิด สำหรับการควบคุมสวิตช์แม่เหล็ก START STOP

จงออกแบบวงจรควบคุมการหมุนกลับทิศทางของมอเตอร์

คำแนะนำ 1 การกลับทิศทางการหมุนของมอเตอร์สามารถทำได้โดย การสลับสายเมนคู่ใดคู่หนึ่งที่ต่อเข้ากับมอเตอร์ ส่วนอีกคู่หนึ่งต่อไว้คงเดิม - ถ้า K1 ต่อมอเตอร์จะหมุนขวา ถ้า K2 ต่อมอเตอร์จะหมุนซ้าย และควรนำ K1 และ K2 มา INTERLOCK กัน เพราะถ้าทำงาน พร้อมกันแล้ว จะเกิดการลัดวงจรระหว่าง L1 กับ L3

ขั้นตอนการทำงาน 1. การควบคุมให้มอเตอร์หมุนขวาหรือซ้ายเลือกได้ที่ สวิตช์ S2 และ สวิตช์ S3 ตามลำดับ 2. การหมุนกลับทิศทางทันทีเป็นไปไม้ได้เพราะมี interlock มอเตอร์จะต้องหยุดก่อนโดย กดปุ่มหยุด (S1) แล้วจึงกดสวิตช์ให้หมุนอีกทางหนึ่ง

จงออกแบบระบบควบคุมเครื่องสูบน้ำ (PUMP CONTROL)

คำแนะนำ ถ้าระดับน้ำในบ่อเก็บน้ำลดลงต่ำกว่าตำแหน่งของสวิตช์ลูกลอย LS3 สวิตช์ลูกลอย LS3 จะมีสภาวะ “0” หรือ OFF (เป็นแบบ NO) เครื่องสูบน้ำจะหยุดทำงานทันที เพื่อป้องกันไม่ให้เครื่องเสียหาย