การทำแผลชนิดแห้ง( Dry dressing )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การตอนกิ่งกลางอากาศ ชื่อต้นไม้ โกสน จัดทำโดย
Advertisements

ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
การอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการ
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
เรื่องถุงมือป้องกันสารเคมี
วิธีทำความสะอาดรอยเปื้อนต่าง
คุณพวงทอง สกุลนุ่ม คลินิกทันตกรรมโรงพยาบาล
คุณพวงทอง สกุลนุ่ม คลินิกทันตกรรมโรงพยาบาล
หลักสำคัญในการล้างมือ
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
มาตรการป้องกันการติดเชื้อไข้หวัด ใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 สำหรับเจ้าหน้าที่คลัสเตอร์ 1. ทุกเช้าก่อนปฏิบัติงานทำความสะอาด Monitor โดยเฉพาะ mouse, Keyboard.
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
จับประเด็นเตรียมพร้อมสู่HA
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
ขั้นตอนการประดิษฐ์ที่รองแก้ว
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
แนวทางการจัดสรรงบประมาณการดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ปีงบประมาณ 2555
สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
สวัสดีค่ะ.
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
“ ถุงมือ สะดวกใช้ – สบายใจ ผู้ตรวจ เพื่อลดการปนเปื้อน ”
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
เตาไฟฟ้า.
เครื่องปั่นน้ำผลไม้.
เตาไมโครเวฟ.
หลอดไฟฟ้า.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
เครื่องม้วนผม.
ไดร์เป่าผม.
การบริหารยาทางฝอยละออง
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
L O G O ชุดทดสอบ กรดเรติโน อิก ใน เครื่องสำอา ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวง สาธารณสุข.
นวัตกรรม ถุงประคบมือถือ
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
นวัตกรรม ของ งานจ่ายกลาง และงานซ่อมบำรุง ปี 2552
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การกำจัดขยะโดยใช้หลัก 3R
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
การปฐมพยาบาลกรณีตกเลือด เกิดบาดแผล และการทำแผล
การตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด นางสาวนิตติยา บุตรวงษ์
Tonsillits Pharynngitis
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
วิชา งานสีรถยนต์.
มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร
เครื่องมือ-วัสดุอุปกรณ์
ประโยชน์ของผลไม้ไทย.
ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ...
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
วงจรอัดอากาศรถจักร ALSTHOM
การล้างมือ (hand washing)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทำแผลชนิดแห้ง( Dry dressing ) อุปกรณ์     1.ชุดทำแผลปลอดเชื้อ : forceps 2 อัน ; ถ้วยใส่น้ำยา 2 ใบ ; สำลี 6 ก้อน ; ผ้าก๊อส 2 ชิ้น      2. Alcohol 70%      3. ถุงมือสะอาด 1 คู่ หรือ forceps สะอาด 1คู่      4.ชามรูปไตสะอาด 1 ใบ หรือถุงพลาสติกสะอาด 1 ใบ      5.พลาสเตอร์      6.อะซีโตน      7. NSS

วิธีการทำแผลแบบแห้ง ( dry dressing) 1.เปิดแผลโดยใช้มือหยิบผ้าปิดแผลโดยพับส่วนที่สัมผัสแผลอยู่ด้านในทิ้งลงในภาชนะรองรับหรือชามรูปไต   2. เปิดชุดทำแผล หยิบปากคีบอันแรกโดยใช้มือจับด้านนอกของผ้าห่อชุดทำแผลหยิบขึ้นแล้วหยิบปากคีบอันที่สอง โดยใช้ปากคีบอันแรกหยิบ และส่งให้มืออีกข้างหนึ่ง โดยให้มือข้างที่ถนัด จับปากคีบมีเขี้ยว กรณีใส่ถุงมือปลอดเชื้อให้ใช้มือหยิบได้เลย  3. ใช้ปากคีบไม่มีเขี้ยว คีบสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% ประมาณ 2/3 ของก้อนหรือพอหมาด ส่งต่อปากคีบมีเขี้ยวที่อยู่ต่ำกว่านำไปเช็ดชิดขอบแผลและวนออกนอกแผลประมาณ 2-3 นิ้ว หากยังไม่สะอาดใช้สำลีชุบแอลกอฮอล์ 70% เช็ดซ้ำ สำลีที่ใช้ทำความสะอาดแล้วให้ทิ้งลงในภาชนะรองรับ หรือชามรูปไต โดยที่ปากคีบไม่สัมผัสภาชนะรองรับหรือชามรูปไตและไม่ข้ามกรายชุดทำแผล  4. ปิดแผลด้วยผ้าก็อสและติดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลำตัว      

การทำแผลชนิดเปียก( Wet to dry dressing ) อุปกรณ์ 1.ชุดทำแผลปลอดเชื้อ : forceps 2 อัน ; ถ้วยใส่น้ำยา 2 ใบ ; สำลี 6 -8 ก้อน ; ผ้าก๊อส 2 ชิ้น      2. Alcohol 70%      3. ถุงมือสะอาด 1 คู่ หรือ forceps สะอาด 1คู่      4.ชามรูปไตสะอาด 1 ใบ หรือถุงพลาสติกสะอาด 1 ใบ      5.พลาสเตอร์      6.อะซีโตน      7. NSS; Lactated Ringer solution เ

วิธีการทำแผลแบบเปียก ( wet dressing )   1 เปิดแผลโดยใช้มือหยิบผ้าปิดแผลส่วนบนทิ้งลงในภาชนะรองรับหรือชามรูปไต เปิดผ้าปิดแผลชั้นที่ติดกับแผลด้วยปากคีบมีเขี้ยว หากผ้าปิดแผลหรือผ้าก๊อสแห้งติดแผล ให้ใช้สำลีชุบน้ำเกลือหยดบนผ้าปิดแผลหรือผ้าก๊อสก่อน เพื่อให้เลือดหรือสิ่งขับหลั่งอ่อนตัว จะช่วยให้ผ้าปิดแผลหลุดง่ายและไม่ทำลายเนื้อเยื่อที่สร้างขึ้น      2 ทำความสะอาดริมขอบแผลเช่นเดียวกับการทำ dry dressing      3 ใช้สำลีชุบน้ำเกลือหรือน้ำยาตามแผนการรักษาเช็ดภายในแผลจนสะอาด      4 ใช้ผ้าก็อสชุบน้ำยาตามแผนการรักษาใส่ในแผล เพื่อฆ่าเชื้อโรค ดูดซับสิ่งขับหลั่งและให้ความชุ่มชื้นแก่เนื้อเยื่อ      5 ปิดแผลด้วยผ้าก็อสหรือผ้าก็อสหุ้มสำลีตามปริมาณของสิ่งขับหลั่ง ขนาดของ แผลและปิดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลำตัว

อุปกรณ์การทำแผล