อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำฮวงโห
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำฮวงโห (อารยะธรรมจีน)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำฮวงโห
อักษรภาพอียิปต์โบราณ
13 คำถาม-คำตอบเกี่ยวกับเขื่อน 1. ทำไมจึงมีการต่อต้านเขื่อนขนาดใหญ่อย่าง กว้างขวาง? ตอบ เขื่อนขนาดใหญ่เป็น ชนวนของความขัดแย้ง ทางสังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ.
ขนมไทย เสนอ อาจารย์ มานะ ผิวผ่อง จัดทำโดย
โครงการรณรงค์การจัดการสิ่งแวดล้อม
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
ดาวอังคาร (Mars).
คลิกที่รูป... สู่ ฮานอย เมืองหลวงคือ กรุงฮานอย มีพื้นที่ 331,689 ตารางกิโลเมตร จากการสำรวจถึงเมื่อปี พ. ศ.2553 มีประชากรประมาณ 88 ล้านคน ประมาณ 25%
ประเทศมาเลเซีย ‘Malaysia’.
ประเทศอาเซียน ประเทศพม่า.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยลุ่มธรรมแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำฮวงโห (อารยธรรมจีน)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำฮวงโห (อารยธรรมจีน)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
หลักการดำเนินชีวิตอย่างปลอดภัยโดย สัปปุริสธรรม 7
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
๓ อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
การศึกษาต่อในประเทศจีน
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
พัฒนาการของวัฒนธรรม สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ความหมายของวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
ตำแหน่งที่ตั้งของบ้านเมืองฟูนัน
ตำแหน่งติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำที่เหมาะสม
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
สมัยโชมอน.
สมัยโคะฟุน.
ท่องเที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี โดย ด. ญ. สุดารัฐ เลิศทัศนว นิช.
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
เขตควบคุมอาคาร.
โครงการ จัดทำระบบบริหารจัดการข้อมูลงานรังวัดเพื่อการชลประทานและแผนที่บัญชีรายชื่อเจ้าของที่ดิน (ร.ว. 43 ก.) เหตุผลความจำเป็น การก่อสร้างโครงการชลประทานมีการจ่ายเงินค่าชดเชย.
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
การปรับปรุงอัตรากรมแพทย์ทหารเรือ
เรื่อง ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมการเมือง
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
สถานที่ท่องเที่ยวประเทศอังกฤษ
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
ทวีปเอเชียน่ารู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เข้าสู่บทเรียน.
ดินถล่ม.
จัดทำโดย: น.ส.กนกวรรณ มาลา
ภูมิภาคเอเชียใต้ มีรูปร่างเป็นรูปสามเหลี่ยม มีลักษณะเหมือนรวงผึ้งที่มีน้ำผึ้งกำลังหยด ประกอบด้วย 7 ประเทศ โดยตั้งอยู่บนภาคพื้นทวีป 5 ประเทศ คือ อินเดีย.
ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วย เกาะต่าง ๆ ประมาณ 17,508 เกาะ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ประเทศ มาเลียเชีย ปรากฏความสัมพันธ์อย่างแน่นแฟ้นระหว่างหลายชนเผ่าพันธุ์และหลายวัฒนธรรมของประเทศ นอกจากชาวมาเลย์และกลุ่มชนพื้นเมืองแล้ว ยังมีผู้อพยพมาจากจีน.
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ให้นักเรียนดูภาพแผนที่ต่อไปนี้ แล้วช่วยบอกด้วยว่าเป็นแผนที่ชนิดใด
 1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตาม ประเด็นต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของ โลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจาก อดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ.
  1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็น ต่อไปนี้  1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก  1.3. สิ่งใดที่บ่งบอกความเจริญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้า ตามประเด็นต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใด ของโลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญ จากอดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ

คำชี้แจง 1.นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็นต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ 1.3. สิ่งใดที่บ่งบอกความเจริญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ 1.4 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีอิทธิพลต่อสังคมไทยเราอย่างไร 2. ให้นักเรียนศึกษา อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ 1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ 2 หรือเว็บไซต์อื่นๆ แล้วตอบคำถามตามประเด็นโดยให้ทำใส่ power point หรือ ทำเป็นคลิปVDO ส่งตรง add reply ส่งภายใน 25 ธันวาคม 2556

1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ เป็นอารยธรรมในยุคสำริด (ประมาณ 2500 - 1900 ก่อนคริสตกาล) ถือกำเนิดขึ้นบริเวณลุ่มแม่น้ำสินธุในประเทศอินเดียและปากีสถานในปัจจุบัน ถือเป็นอารยธรรมยุคแรกๆของโลก ซึ่งนักโบราณคดีเรียกว่ายุคฮารัปปัน

1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ จริง เพราะ อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตจนถึงปัจจุบัน เช่น มีการวางผังเมืองอย่างเป็นระบบระเบียบ มีระบบท่อระบายน้ำ มีสระขนาดใหญ่ภายใต้ตึก 3 ชั้น ยุ้งฉางสำหรับเก็บผลผลิตทางการเกษตร เป็นต้น

1.3. สิ่งใดที่บ่งบอกความเจริญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ คือ ความเป็นแบบเดียวกัน (Uniformity) และ เป็นอนุรักษนิยม(Conservation) การวางผังเมือง (City Planning) แผนผังมีระเบียบ งดงาม มีถนนตัดกัน แบ่งเมืองเป็นตารางแยกพื้นที่ใช้สอยออกจากกัน เช่นที่อยู่อาศัย อาคารสาธารณะ ที่อยู่ช่างฝีมือ ยุ้งข้าว ป่าช้า ท่าเรือ พื้นที่ทางศาสนา? แสดงถึงความรู้ด้านวิศวกรรมการสำรวจและเรขาคณิตอย่างดี มีถนน และซอยตัดกันเป็นมุมฉาก บ้านอยู่ 2 ฟาก ถนนมีเสาตะเกียงเป็นระยะๆ การสุขาภิบาล มีประสิทธิภาพมาก ทุกบ้านมีห้องน้ำ มีท่อระบายน้ำเสีย-น้ำดี พบอ่างอาบน้ำใหญ่ เจริญกว่าอารยธรรมอื่นจนสมัยโรมันจึงมีห้องน้ำดีๆเทียบได้ มีการสร้างกำแพงเมืองและป้อมปราการเพื่อกันผู้รุกราน มีอาวุธ กระสุนดินเผา

1.4 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีอิทธิพลต่อสังคมไทยเราอย่างไร 1.4 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีอิทธิพลต่อสังคมไทยเราอย่างไร อินเดียเป็นอารยธรรมของคนในแถบเอเชียใต้และมีอิทธิพลต่ออารยธรรมอื่นๆ โดยเฉพาะอารยธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียตะวันออก อารยธรรมอินเดียโบราณหรืออารยธรรมลุ่มแม้น้ำสินธุ จัดเป็นอารยธรรมที่ยิ่งใหญ่แห่งหนึ่งของโลก ซึ่งประเทศไทยมีการพัฒนาสิ่งต่างๆน้อยกว่าประเทศอินเดียจึงทำให้อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีอิทธิพลต่อสังคมไทย

จัดทำโดย นายธนภูมิ ฮ้อยคำ เลขที่ 4 ชั้น ม.5/1