กิจกรรมแบ่งกลุ่ม เพื่อระดมความคิดการใช้ประโยชน์จากข้อมูล EWI เพื่อการพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยาในพื้นที่
Environmental (Community) Context EWIs Next Steps การนำข้อมูล EWI และข้อมูลที่เกี่ยวข้องไปใช้ ในการป้องกันปัญหาเชื้อดื้อยาในสถานบริการ ARV Provider Factors Client Factors Environmental (Community) Context Data Quality
What’s next when EWI’re not pass Reassure? Set priority? Group indicator? Route cause analysis? HIVDR prevention activity? Monitoring and annual survey
โครงการพัฒนางานข้อมูลและกิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยาในพื้นที่ ชื่อโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย / พื้นที่ดำเนินการ วิธีดำเนินการกิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ งบประมาณ หน่วยงานรับผิดชอบและหน่วยงานร่วมดำเนินการ
กลุ่มตัวชี้วัดสัญญาณเตือนเชื้อดื้อยา (Thailand) กลุ่มตัวชี้วัดสัญญาณเตือนที่เกี่ยวข้องกับสูตรยาต้านไวรัสที่ได้รับ: initiated first line ARV regimen และ switched ARV regimen กลุ่มตัวชี้วัดสัญญาณเตือนที่เกี่ยวข้องกับการมารับบริการการรักษาต่อเนื่อง กลุ่มตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการได้รับ หรือรับประทานยาที่มีประสิทธิภาพต่อเนื่อง กลุ่มตัวชี้วัดที่เกี่ยวกับการประเมินผลลัพธ์ของการรักษา กลุ่มตัวชี้วัดที่เป็นการประเมินผลลัพธ์ภาพรวมที่เกี่ยวข้องกับโอกาสเกิดการรักษาล้มเหลว (ART Prescribing Practice) - EWI#1และ EWI#3 (Visit adherence) - EWI# 2 และ EWI# 5 (Drug adherence)-EWI# 4, EWI#6 และ EWI#7 (Treatment Outcome)- EWI#8 และ EWI#9 (Treatment Failure or failure Rate) – FRI#1 FRI#2
ตัวอย่างกิจกรรม พัฒนารูปแบบการบันทึกและการจัดเก็บข้อมูล แบบฟอร์มการเก็บข้อมูล การพัฒนาระบบการบันทึกข้อมูลผู้ป่วย การขยายพื้นที่สำรวจ EWI ภาคสนาม การวิเคราะห์หาสาเหตุจากข้อมูล -> กิจกรรมพัฒนางาน พิจารณาจากกลุ่มตัวชี้วัด พัฒนางานที่ยังไม่สามารถเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและมีมาตราฐาน เช่น การประเมินการรับประทานยาต้านไวรัส การจัดระบบบริหารจัดการยา