สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

ข้อเสนอแนะในการเสนองานวิจัย
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
ของงานแนะแนว ระดับประถมศึกษา
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
จุดประสงค์ปลายทาง เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ความรู้ในทาง วิทยาศาสตร์ว่ามีความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมี หลักฐานและข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เท่านั้น.
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การวิจัย RESEARCH.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
บทที่ 1 สถิติ สถิติ หมายถึง ตัวเลขที่แสดงข้อเท็จจริง อย่างใดอย่างหนึ่ง
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Graphical Methods for Describing Data
Management Information Systems
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
การวิจัยการศึกษา.
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การจัดกระทำข้อมูล.
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design)
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
การเขียนรายงานการวิจัย
วิจัย (Research) คือ อะไร
การเขียนรายงานการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102 ผู้สอน….ครูธีระพล เข่งวา
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique)
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
ชื่อเรื่องอะไรว่าไป ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย (Research Paper)
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ

ความเป็นมาของสถิติ เริ่มพัฒนาเรื่อยมานับตั้งแต่สมัย 500 – 600 ปีก่อนคริสตกาลในยุคของนักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ชื่อ Pythagoras ได้มีการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ในระหว่างปี ค.ศ. 1667 – 1754 ได้มีการค้นพบโค้งปกติ(Normal Curve) คำว่าสถิติก่อกำเนิดในปี ค.ศ. 1749 โดยศาสตราจารย์กอทท์ฟรายด์อาเซนวอลล์ ( Gottfried Achenwall) แห่งประเทศเยอรมัน ได้บัญญัติศัพท์คำว่า Statistik และ อี เอ ดับบลิว ซิมเมอร์แมน ( E.A.W Zimmerman) ได้นำคำนี้มาใช้ในภาษาอังกฤษว่า Statistics จนถึงปัจจุบัน

ขอบข่ายของสถิติ ความหมายของสถิติ ชุดข้อมูลตัวเลขที่แทนข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ สถิติในความหมายของศาสตร์แขนงหนึ่งที่เกี่ยวกับวิธีที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลที่เรียกว่า “ระเบียบวิธีทางสถิติ”

สถิติในความหมายของศาสตร์นี้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท สถิติเชิงพรรณนา ( Descriptive Statistic) เป็นระเบียบวิธีทางสถิติที่มุ่งศึกษาและอธิบายลักษณะต่างๆ ของกลุ่มตัวอย่างหรือประชากรที่ศึกษาเท่านั้น โดยทำการเก็บรวมรวมจากทุกหน่วยประชากรเป้าหมาย ทำการสรุปและแปลความหมายภายในกลุ่มประชากรเป้าหมายเท่านั้น เริ่มตังแต่การแยกประเภท การนำเสนอข้อมูลในรูปของตาราง กราฟ ตลอดจนการแจกแจงความถี่ของข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น

2. สถิติเชิงอนุมาน(Inferential Statistics) เป็นสถิติที่มุ่ง ศึกษาและอธิบายลักษณะต่างๆของประชากร โดยรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งสุ่มมาจากประชากรที่ต้องการศึกษา ทำการวิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างและสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลไปสู่กลุ่มประชากรโดยใช้ทฤษฎีความน่าจะเป็นมาประกอบกับข้อมูลสถิติ เพื่ออ้างอิงถึงลักษณะของประชากร วิธีการของสถิติเชิง อนุมานแยกย่อยได้หลายวิธี ได้แก่ การทดสอบสมมุติฐาน การประมาณค่า

ข้อมูล(Data) แหล่งที่มา ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูล ข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลปฐมภูมิ ข้อมูลสถิติ ข้อมูลดิบ

ชนิดของข้อมูล 2. ข้อมูลเรียงลำดับ 1. ข้อมูลนามบัญญัติ 4. ข้อมูลอัตราส่วน 3. ข้อมูลอันตรภาค

คำศัพท์ การสำมะโน การสำรวจ ประชากร สิ่งตัวอย่าง พารามิเตอร์ ค่าสถิติ

การสุ่มตัวอย่าง 2.การสุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น 1.การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น

การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น แบบได้มาโดยบังเอิญ ตามวัตถุประสงค์ ตามโควต้า

การสุ่มตัวอย่างโดยใช้หลักความน่าจะเป็น 4. วิธีสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม 1.วิธีสุ่มอย่างง่าย 2.วิธีสุ่มแบบมีระบบ 3.วิธีสุ่มแบบแบ่งชั้น 5.วิธีสุ่มแบบหลายชั้น 4. วิธีสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม

1.ระดับบุคคลและครัวเรือน 2.ระดับหน่วยงานธุรกิจเอกชน ประโยชน์ของสถิติ 1.ระดับบุคคลและครัวเรือน 2.ระดับหน่วยงานธุรกิจเอกชน 3.ระดับประเทศ

4.การแปลความหมายข้อมูล 1.การรวบรวมข้อมูล 2.การนำเสนอข้อมูล 3.การวิเคราะห์ข้อมูล 4.การแปลความหมายข้อมูล ระเบียบวิธีทางสถิติ

1.การรวบรวมข้อมูลสถิติ 1.จากการสำรวจ 2.จากทะเบียนประวัติ 3.จากการทดลอง 4.จากการสังเกต 1.การรวบรวมข้อมูลสถิติ

2.รูปกึ่งตารางกึ่งบทความ 2.การนำเสนอข้อมูล 1.รูปบทความ 2.รูปกึ่งตารางกึ่งบทความ 4. รูปแผนภูมิและแผนภาพ 3.รูปตาราง

การนำเสนอในรูปตาราง 1.ตารางทางเดียว 3.ตารางหลายทาง 2.ตารางสองทาง

การนำเสนอในรูปแผนภูมิหรือแผนภาพ 1.แผนภูมิรูปภาพ 2.แผนภูมิแท่ง 3.แผนภูมิวงกลม 5.แผนที่สถิติ 4. แผนภูมิเส้น