การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สิงหาคม 2552

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
ประชุมคณะทำงานและคณะ เลขาฯ การจัดทำรายงาน UNGASS ธันวาคม 2550.
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์อย่างครอบคลุมในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (TUC Care Project) ปี
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
แนวทางการสนับสนุนการจัดบริการป้องกัน เพื่อส่งเสริมสุขภาพ สำหรับกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ นายแพทย์สรกิจ ภาคีชีพ ผู้จัดการ กองทุนเพื่อบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวี
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มดอกไม้งาม อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ. ชาติ ประจำปี มกราคม 2555.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ไข้เลือดออก.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ผลการดำเนินงานวัณโรคปี 2552 โรงพยาบาลมหาสารคาม
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค 13-14 สิงหาคม 2552 พ.ญ. ศรีประพา เนตรนิยม สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค

Estimated number of cases Estimated number of deaths สถานการณ์วัณโรคของโลก Estimated number of cases Estimated number of deaths All forms of TB Greatest number of cases in Asia; greatest rates per capita in Africa 9.27 million (139 per 100,000) 1.77 million (27 per 100,000) Multidrug-resistant TB (MDR-TB) 511,000 ~150,000 This slide that contains all essential numbers WHO estimates that worldwide in 2007 over 9 million TB cases occurred (and of those, 4 million infectious, sputum-smear (+)). 1.65 million people died of TB, which means 4500 every day. WHO estimates, based on surveys conducted in over 110 settings in the last decade, that nearly half a million cases are multi-drug resistant, and 130,000 of them lethal WHO estimates that XDR-TB cases, which are resistant to all most potent first-line and second-line, reserve drugs, were about 50,000, the majority of which are lethal. Finally, well over 700,000 cases of the 9 million are linked with HIV/AIDS. This is slightly less than 10%. In Africa, this % is much higher, up to50%. In the rest of the world, however, the vast majority of TB cases are not due to HIV. Extensively drug-resistant TB (XDR-TB) ~50,000 ~30,000 HIV-associated TB 1.4 m (15%) 456,000 Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009 (Updated Jan 2009)

สถานการณ์วัณโรคของประเทศไทย จากรายงานขององค์การอนามัยโลก คาด ประมาณสถานการณ์วัณโรคของประเทศไทยดังนี้ ความชุกวัณโรคทุกประเภท 123.000 ราย ผู้ป่วยรายใหม่ทุกประเภทปีละ 91,000 ราย ผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อ 39,000 ราย ผู้ป่วยเสียชีวิตปีละ 13,900 ราย เป็นผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีร่วมด้วย 3,900 ราย ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ติดเชื้อเอชไอวีร่วมด้วย 17 % ( คิดเป็น 15,470 ราย ) ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ทั้งสิ้น 2,774 ราย ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานในผู้ป่วยใหม่ 1.7 % Source: Stop TB Partnership Targets WHO Report 2009 Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

ปัญหาการควบคุมวัณโรคที่ต้องการการเร่งรัด การดำเนินงานวัณโรคโดยกลวิธี DOTS มีคุณภาพไม่เพียงพอ treatment success ต่ำกว่า 85% อัตราตายและขาดยาสูง ผู้ป่วยส่วนหนึ่งไม่ทราบผลการรักษา Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009 อัตราผลการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคใหม่เสมหะพบเชื้อ ในประเทศไทย ปี2546 - 2550 (Treatment outcomes of New SS+ TB cases registered in Thailand, 2003 – 2007) Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009 อัตราผลการรักษาที่ไม่ประสบความสำเร็จของผู้ป่วยวัณโรคใหม่เสมหะพบเชื้อ ปี2546 - 2550 (Unfavourable outcome of New SS+ TB patients registered in Thailand, 2003 – 2007) Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009 2) การเข้าถึงการดูแลรักษาการติดเชื้อเอช ไอ วี ในผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอช ไอ วี ความชุกของการติดเชื้อเอชไอวีในผู้ป่วยวัณโรค สูงมาก (17-20%) อัตราการตายสูงมาก 20-30% ส่วนใหญ่เสียชีวิตภายใน 2 เดือนแรกที่เริ่มรักษาวัณโรค ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวีส่วนใหญ่ (70-80 %) มีค่า CD4 < 250 ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวี เข้าถึงยาต้านไวรัส ขณะที่กำลังรักษาวัณโรค ยังต่ำกว่าเป้าหมายมาก Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

HIV testing among TB patients in Thailand, 2006-8. 79 68 52 Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

CPT for TB/HIV patients in Thailand , 2006-8 (2006) (2007) (2008) Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

ART for TB/HIV patients in Thailand , 2006-8. (2006) (2007) (2008) 60 Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

Intensified TB finding among newly detected PHAs in Thailand , 2006-8. Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009 Treatment outcomes of new smear positive TB patients in 2007, Thailand. Success Fail Died Default TO Total NM+ 81.3% 1.7% 8.6% 4.9% 1.6% TB (HIV+) 67.7% 1.9% 22.2% 5.7% 2.5% TB ( HIV- , unknown) 82.3% 6.8% 4.8% 1.5% Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009 12

ปัญหาอุปสรรคของการได้รับยาต้านแก่ไวรัสผู้ป่วย TB/HIV การตรวจเลือดเอชไอวียังไม่ครอบคลุมในผู้ป่วยวัณโรคทั้งหมด ผู้ติดเชื้อเข้าถึงบริการล่าช้า ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวี ไม่ได้รับการตรวจ CD4 ทุกราย (69% in 2008 ) ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวี ได้รับรักษาวัณโรคให้ครบก่อน จึงจะพิจารณาให้ยา ARVs แพทย์ที่คลินิกวัณโรคขาดทักษะและความเชี่ยวชาญในการให้ยา ARVs Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

3) การขาดการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการควบคุมวัณโรค กิจกรรมการดำเนินงานวัณโรค รับผิดชอบโดย health facilities เป็นหลัก ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการดูแล โดยมีคนในชุมชน เช่น อสม. ผู้นำชุมชนอื่นๆ เป็น พี่เลี้ยงเพียง 5% เท่านั้น ไม่มี TB patient support group Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009 4) การค้นหา และ/หรือ รายงานผู้ป่วยวัณโรคเด็กยังขาดความเข้มแข็ง จากข้อมูลรายงานผู้ป่วยของประเทศไทย เป็นผู้ป่วยเด็กอายุ < 15 ปี เพียง 1 % (กลุ่มผู้ป่วยใหม่เสมหะบวกเป็นเด็กเพียง 0.4%) โดยทั่วไป ควรผู้ป่วยเด็ก ประมาณ 5 % ปัญหาหนึ่งในหลายปัญหา คือ การค้นหาในผู้สัมผัสโรค (household contact investigations) ไม่เข้มแข็ง Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

5) ปัญหาวัณโรคในเรือนจำ อัตราความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยวัณโรคอยู่ระดับที่ต่ำ อัตราตายสูง อัตราการโอนออกและไม่ทราบผลการรักษาสูงมาก ผลกระทบของการติดเชื้อเอชไอวี ต่อวัณโรค Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

6) ระบบการควบคุมวัณโรคดื้อยาหลายขนานยังไม่ดีพอ MDR-TB ในผู้ป่วยใหม่ 1.7% และ 34% ในผู้ป่วยเก่า ( ข้อมูลจากการสำรวจวัณโรคดื้อยา 2005-6) องค์การอนามัยโลกคาดว่าประเทศไทยมีผู้ป่วย MDR-TB 2774 ราย การดำเนินงานในทุกระดับยังมีปัญหา ยังไม่มีหลักสูตรเฉพาะในการอบรม การนิเทศงานไม่เพียงพอ ขาด on the job training ระบบการบันทึกและการรายงานยังอ่อนแอมาก ไม่มีข้อมูลในการวิเคราะห์และประเมิน เพื่อการวางแผนและกำหนดนโยบายระดับประเทศ Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

7. ความร่วมมือของหน่วยงานรัฐอื่นๆ และเอกชน อัตราการค้นหารายป่วย ในผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท CDR 58% ในผู้ป่วยวัณโรครายใหม่เสมหะพบเชื้อ CDR 72% คาดว่ามีผู้ป่วยวัณโรค ถึง 20-25% ที่ได้รับบริการการวินิจฉัยและรักษาในโรงพยาบาลของหน่วยงานรัฐสังกัดอื่นๆ และในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

จำนวนผู้ป่วยวัณโรคที่ได้รับรายงาน (TB case notification) 2544-2551

อัตราการตรวจพบรายป่วย (Case detection rate)

ยุทธศาสตร์การควบคุมวัณโรคของประเทศไทย การส่งเสริมคุณภาพการดำเนินงาน DOTS การเร่งรัดการผสมผสานวัณโรคและเอดส์ การควบคุม MDR TB , วัณโรคในเรือนจำ วัณโรคในแรงงานเคลื่อนย้ายและชายแดน วัณโรคในเด็ก และกลุ่มเสี่ยงพิเศษอื่นๆ การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ การสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับภาครัฐอื่นๆและภาคเอกชน การกระตุ้นพลังผู้ป่วยและสังคมและการมีส่วนร่วมของชุมชน การสนับสนุนการศึกษาวิจัย Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

ตัวชี้วัดความสำเร็จของเป้าหมาย 1.การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ DOTS อัตราการตรวจพบวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อ >70% อัตราความสำเร็จการรักษาวัณโรคปอดเสมหะพบเชื้อ >85% 2.การดำเนินงานวัณโรคและเอดส์ ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการตรวจการติดเชื้อเอช ไอ วี >85% ผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอช ไอ วี ได้รับ ART >60% ผู้ติดเชื้อเอช ไอ วี ได้รับการตรวจคัดกรองวัณโรค >90% 3.การวินิจฉัยและรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ผู้ป่วยมีประวัติรักษามาก่อนและรายป่วยเรื้อรังได้รับการทดสอบความไวต่อยา100% ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานที่ตรวจพบ ได้เข้าสู่แผนการรักษา 100% อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน >60% Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009 1 DOTS อย่างมีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ DOTS ซึ่งประกอบด้วย Political commitment การตรวจวินิจฉัยที่ได้มาตรฐานและมีการควบคุมคุณภาพ การทำ DOT โดย อสม. ซึ่งต้องประสานงานกับกรม สบส. การสนับสนุนยาอย่างมีคุณภาพ การนิเทศ ติดตามงาน และการประเมินผล ของทุกระดับ และการจัดทำและส่งรายงานจากทุกอำเภอ ได้ถูกต้อง ครบถ้วน และตรงเวลาตามที่กำหนด Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

2. การผสมผสานวัณโรคและเอดส์ การให้ความสำคัญจากผู้บริหาร : นโยบายที่เข้มแข็ง ประสานความร่วมมือระหว่าง TB และ HIV clinic เร่งรัดการคัดกรองเพื่อค้นหาวัณโรคในผู้ติดเชื้อเอชไอวี ในคลินิกเอดส์ เน้นผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวี เข้าถึงบริการการดูแลรักษาโรคเอดส์ การได้รับการตรวจ CD4 และยาต้านไวรัส ระหว่างการรักษาวัณโรคให้มากขึ้น และเร็วขึ้น การอบรมให้ความรู้สำหรับบุคคลากรของโรงพยาบาล : แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่คลินิก ( คลินิกวัณโรคและคลินิกเอดส์ ) Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009 Peer group ช่วยดูแล เพื่อลด stigma และเพื่อให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวีเข้าถึงบริการสุขภาพ และช่วยดูแลรักษาด้วย การป้องกันการแพร่เชื้อวัณโรคในโรงพยาบาล การให้ยาป้องกันวัณโรคแก่ผู้ติดเชื้อเอชไอวี การนิเทศ กำกับ ติดตามงาน ร่วมกันทั้งสองแผนงาน จัดทำและส่งรายงานให้ครบถ้วน ทั้ง 2 ส่วน เร่งรัดการผสมผสานงาน TB/HIV ในโรงพยาบาลเอกชน Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009 3. วัณโรคดื้อยา MDR-TB อบรมการดำเนินงานวัณโรคดื้อยาอย่างเป็นระบบ ผู้ป่วยเก่าหรือผู้ป่วยใหม่ที่มีประวัติสัมผัสกับผู้ป่วย MDR-TB ควรส่งตรวจ DST ทุกราย ให้การดูแลรักษาและติดตามผล ตาม national guideline (ระบบยา และ วิธีการติดตามการรักษา) ให้การดูแล สนับสนุนการรักษาแบบ DOT อย่างเข้มงวด เพื่อป้องกันการเกิด XDR-TB จัดทำทะบียนบันทึกและทำรายงานตามแบบฟอร์มมาตรฐาน Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009 4 . วัณโรคในเรือนจำ เน้นการสร้างกลไกความร่วมมือระหว่างเรือนจำกับ สสจ. : ประชุม นิเทศ และประเมินผลร่วมกัน เพิ่มการค้นหาผู้ป่วยวัณโรค ( วัณโรคปอดเสมหะลบโดยเอกซเรย์ ซึ่งมีสัดส่วนมากในผู้ติดเชื้อเอชไอวี) การติดตามการรักษาผู้ป่วยที่พ้นโทษก่อนรักษาครบ โดยความร่วมมือกับคณะกรรมการคาทอลิกเพื่อผู้อพยพและผู้ต้องขัง ( NCCM ) เร่งรัดการให้ยาต้านไวรัสในผู้ป่วยวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวีเพื่อลดอัตราตาย Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009 5. วัณโรคในเด็ก สร้างกลไกความร่วมมือระหว่างแผนกเด็กและอายุรกรรมในโรงพยาบาล การอบรมกุมารแพทย์ พยาบาล และผู้ประสานงานที่รับผิดชอบ กำกับ ติดตาม การวินิจฉัยและรักษาที่เป็นมาตรฐาน การตรวจผู้สัมผัสวัณโรคเสมหะพบเชื้อ การให้ยาป้องกันการป่วยเป็นวัณโรค ( Isoniazid preventive therapy : IPT) จัดทำรายงานและรายงาน ( TB07,07/1 และ TB08 ) เช่นเดียวกับผู้ใหญ่ ส่งให้กับ สสจ. และ สคร. Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

6. การดำเนินงานในกลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยสูงอายุ ในผู้ป่วยใหม่เสมหะพบเชื้อ กลุ่มอายุที่มีอัตราการป่วยสูงที่สุดคือ กลุ่มผู้สูงอายุ ( อายุ > 65 ปี ) การศีกษารวบรวมข้อมูลการตายในผู้ป่วยที่ไม่ติดเชื้อเอชไอวี พบว่า ผู้ป่วยวัณโรคที่เสี่ยชีวิตส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ควรเร่งรัดการค้นหาเชิงรุกในผู้สูง เพื่อรีบให้การรักษา 2. ผู้ป่วยแรงงานข้ามชาติ Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

7. การพัฒนาศักยภาพของบุคคลากร เพื่อสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ จัดอบรมด้วยหลักสูตรมาตรฐาน นิเทศงาน และ on the job training อบรมการแปลผล และวิเคราะห์ ข้อมูลของหน่วยงาน Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

8. ACSM & การมีส่วนร่วมของชุมชน การกระตุ้นสังคมและประชาชนให้มีความรู้เรื่องวัณโรคผ่านสื่อรูปแบบต่างๆ สื่อมวลชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ การดูแล DOT โดยชุมชน (อสม อส.แรงงานข้ามชาติ) การคัดกรองวัณโรคโดยกลุ่มผู้ติดเชื้อ การตั้งชมรมผู้ป่วยวัณโรค เพื่อช่วยกันให้ความรู้และดูแลกันเองในชุมชน Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009 9 . การศึกษาวิจัย การศึกษาสถานการณ์วัณโรคในเด็ก และวัณโรคดื้อยา ที่รักษาระหว่างปี พ.ศ. 2550-2 (คาดว่าจะศึกษาในปี 2553) Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009 สรุป DOTS อย่างมีคุณภาพ ยังเป็นมาตรการหลักของการควบคุมวัณโรค เร่งรัดการผสมผสานวัณโรคและเอดส์ เพื่อลดความชุก/อุบัติการ และ ลดอัตราการตาย การวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วย MDR-TB และจัดทำข้อมูล เพื่อทราบสถานการณ์ อย่างเร่งด่วน การค้นหาและรักษาในกลุ่มเสี่ยงต่างๆ ได้แก่ ผู้ป่วยในเรือนจำ ผู้ป่วยเด็ก ผู้ป่วยสูงอายุ แรงงานข้ามชาติ การสร้างพลังให้ชุมชน เพื่อลด stigma และเข้าถึงบริการเร็วขึ้น การประสานความร่วมมือกับโรงพยาบาลเอกชน การพัฒนาศักยภาพของบุคคลากรอย่างสม่ำเสมอ Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009

การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009 รวมพลัง หยุดยั้งวัณโรค Thank you for attention Sriprapa TB Bureau การเร่งรัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค13-14 August 2009