การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง การใช้ยุทธการ ในการดำเนินงานเพื่อรับมือการระบาด ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระลอกสอง ดร.นพ.ณรงค์ วงศ์บา ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดขอนแก่น
ปัจจัยที่จะทำ ให้ เกิดการระบาดระลอกสอง 1. ภูมิอากาศ - อากาศจะเย็นลง - อากาศแห้ง กลไกการป้องกันของร่างกาย จะลดลง จะติดเชื้อ ทางเดินหายใจมากขึ้น - virus จะอยู่ในสิ่งแวดล้อมยาวนานขึ้น
2. สังคม - ออกพรรษา (๓ ล้านคนที่ไปทอดกฐินตามวัด ต่างๆ ) - เทศกาลประจำปี วันหยุดยาว งานกาชาด ปีใหม่ วันเด็ก ตรุทจีน ฯลฯ - การเดินทางไปต่างประเทศ 3. ประชาชน คิดว่าปัญหาการระบาดจบลงแล้ว ไม่ป้องกันตนเอง ปัจจัยที่จะทำให้เกิดการระบาดระลอกสอง
เป็นนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข เน้นการบริหารจัดการ เน้นการจัดการในพื้นที่ โดยกระทรวงสาธารณสุขสนับ สนุน หากจำเป็น อาจมีการปฏิบัติการเพิ่มของส่วนกลาง เร่งรัดปฏิบัติการให้เกิดผลในระดับควบคุมโรคใน 4เดือน 16 พฤศจิกายน 2552–15 มีนาคม 2553
กำหนดปฏิบัติการ 3 ระยะ - ระยะที่1 พย.2552 เน้นทบทวน ปรับปรุงแนวทาง วิเคราะห์ - ระยะที่2 ธค.52-กพ.53 เน้นปฏิบัติการ - ระยะที่3 มีค.2553 เน้นประเมินผล
หลักการสำคัญ ของยุทธการ เข้มใน 4 พฤติกรรม - ปิด ปิดปาก ปิดจมูก เมื่อไอ จาม - ล้าง ล้างมือบ่อยๆ เช็ดจุดสัมผัสบ่อยๆ - เลี่ยง หลีกเลี่ยงไปสถานที่ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค - หยุดกิจกรรม หยุดเรียน หยุดงาน เมื่อป่วย
2. เข้มใน 4 มาตรการ - รู้โรค รู้สถานการณ์ รู้ตนเอง - ร่วมเร่ง การจัดการให้เกิดความร่วมมือในการ ป้องกันและควบคุมโรค - ลดป่วย สนับสนุนทุกภาคส่วนดำเนินการ - ลดตาย โดยมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันการ เปลี่ยนแปลงทางคลินิกรุนแรง หลักการสำคัญ ของยุทธการ 4444
3. เข้มใน 4 กลุ่มเป้าหมาย - วัยเรียน ตั้งแต่ระดับการศึกษาพื้นฐานไปถึง เอกชน อาชีวะและอุดมศึกษา - วัยทำงาน - วัยอยู่บ้าน ในกลุ่มเด็กเล็ก พี่เลี้ยง และกลุ่ม ผู้สูงอายุ - ผู้ป่วยที่มีโรคอยู่ก่อน รวมทั้ง ตั้งครรภ์ และ ภาวะอ้วนเกิน
หลักการสำคัญ ของยุทธการ เข้มในช่วง 4 เดือน (เทศกาลที่มีคนเดินทางเป็น จำนวนมาก) - พฤศจิกายน งานบุญ งานฉลอง เทศกาล ประจำปี - ธันวาคม ปีใหม่ เที่ยวต่างประเทศ - มกราคม ปีใหม่ วันเด็ก - กุมภาพันธ์ ตรุษจีน วาเลนไทน์ เที่ยวต่างประเทศ
1. ประชุม สม่ำเสมอ, ติดตามงาน - ระดับบริหาร - ระดับปฏิบัติการ 2. ประเมิน - สถานการณ์โรค - สถานการณ์กลุ่มเสี่ยง - วิเคราะห์สถานการณ์ หลักการสำคัญในการจัดการของจังหวัด
3.ประสาน-ประชาสัมพันธ์ - บูรณาการการบริหารจัดการ - สื่อสารประชาสัมพันธ์ 4.ปฏิบัติการทางการแพทย์ จัดบริการทางแพทย์ที่ครอบคลุม ครบถ้วน หลักการสำคัญในการจัดการของจังหวัด
Flu Crisis Management) องค์ประกอบสำคัญ กลไกการจัดการ ระดับจังหวัด ( Flu Crisis Management) 1. ศูนย์บริหารจัดการ “บัญชาการ” (เอกภาพ กลยุทธ์ รับรู้ ประสานงาน และ “ความเป็นผู้นำ” 2. มอบหมายงานบุคคลและทีมงาน – (eg. Mr. ไข้หวัด ใหญ่/นก”) 3. เชื่อมต่อทุกพื้นที่ – มีผู้ประสานงานในโรงพยาบาล (Hospital coordinator and Surveillance)
4. ทีมแพทย์ พยาบาลและระบบงาน 5. SRRT “รุก เร็ว” สอบสวน ควบคุมการระบาด ติดตาม สถานการณ์ รายงาน 6. สถานีอนามัย – เจ้าหน้าที่ อสม. เข้าถึงชุมชน ปชช ดูแล ให้ข้อมูล ติดตามผู้ป่วยทั่วถึง 7. ประสานท้องถิ่น ชุมชน อบต. ภาคีประชาชน หน่วยงาน พื้นที่ โรงเรียน วัด สถานศึกษาและศาสนา Flu Crisis Management) องค์ประกอบสำคัญ กลไกการจัดการ ระดับจังหวัด ( Flu Crisis Management)
การเตรียมความพร้อมของทีม SRRT 1. ตรวจสอบความพร้อม - จำนวนคน - ระบบงาน - การช่วยเหลือข้ามอำเภอ ข้ามจังหวัด 2. แจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบ 3. ขอการสนับสนุนในสิ่งที่จำเป็น - วิชาการ - ผู้เชี่ยวชาญ - PPE - ยา และเวชภัณฑ์อื่นๆ
4. ติดตาม Influenza-like-illness ต่อจำนวนคนไข้นอก - เกิน 5% เริ่ม - เกิน 10% อันตราย (อเมริกาประกาศภาวะฉุกเฉิน) 5. สอบสวนโรคเพื่อปรับปรุงจุดอ่อน ทั้งการระบาด และ การ เสียชีวิต 6. ประเมินสถานการณ์ให้ผู้บริหาร ผู้ตรวจ และส่วนกลาง ทราบ การเตรียมความพร้อมของทีม SRRT
สรุป SRRT เป็นหัวใจ (key responder) ในการรับมือการ ระบาด (และภัยสุขภาพระดับพื้นที่) งานของ SRRT จะมีส่วนในการลดการป่วย การตาย เราต้องทำงานเป็นทีมและในลักษณะความร่วมมือ อย่าทิ้ง ชุมชน ในทางตรงข้าม คือระดมความร่วมมือจากท้องถิ่น เป็นหุ้นส่วนเป็นเจ้าของ สคร. สำนักระบาดวิทยา และ กรมควบคุมโรค สนับสนุน เครือข่าย SRRT ทั้งทางวิชาการ การปฏิบัติงาน และ ความก้าวหน้า กระทรวงฯ สนับสนุนด้านนโยบาย และทรัพยากร