ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
Advertisements

ENVIRONMENTAL SCIENCE
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
ดิน ประโยชน์ของดิน สมบัติของดิน ลักษณะของดิน
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
สิ่งแวดล้อมรอบตัว.
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
บทที่ 2 ECOSYSTEM ระบบนิเวศ “ECOSYSTEM” หรือ “ECOLOGICAL SYSTEM”
ทำไม..ที่นี่ไม่มีต้นไม้
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
การสำรวจผีเสื้อกลางวัน
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
การทำธุรกิจแบบยั่งยืน การตลาดแบบแม่ไก่อารมณ์ดี
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
การไถพรวนและเตรียมแปลง ต้องทำการไถพรวนให้ พื้นที่ในแปลงโล่งแจ้ง ปลูกพืชสมุนไพรไล่แมลง ให้ปลูกก่อนที่จะปลูกพืช หลักคือพืชผักต่างๆ ( เสริมกับการป้องกัน.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายอามะ แวดราแม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
บทที่ 1 บทนำ(Introduction)
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
การดำเนินงานการบริหารศัตรูพืช
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
ระบบนิเวศสิ่งแวดล้อม
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
การปลูกพืชผักสวนครัว
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
ระบบเกษตรแบบผสมผสาน.
เกษตรทฤษฎีใหม่.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
การเจริญเติบโตของพืช
ทิศเหนือติดต่อกับ ตำบลพิตเพียน อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศใต้ติดต่อกับตำบลเจ้าปลุก อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทิศตะวันออกติดต่อกับอำเภอดอนพุด.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
นางสาวธัญชนก นาคพล ภาควิชา พัฒนาการเกษตร.
21.5 การเปลี่ยนแปลงแทนที่
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร ระบบนิเวศและการสำรวจ นิพวรรณ หมีทอง ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร

ระบบนิเวศ ? ระบบนิเวศ (ecosystem) หมายถึง ระบบที่มีความสัมพันธ์กันของสิ่งมีชีวิต และสภาพแวดล้อมในแหล่งที่อยู่อาศัย ณ ที่ใดที่หนึ่ง ความสัมพันธ์นั้นหมายถึง การอาศัยอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตในบริเวณหนึ่งนั่นเอง ดังนั้นในบริเวณใด ๆ ที่มีสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตมีความสัมพันธ์กันเพื่อให้เกิดการแลก เปลี่ยนสารและถ่ายทอดพลังงานระหว่างกัน เรียกว่า ระบบนิเวศ (ecosystem) ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา

องค์ประกอบของระบบนิเวศ ๑. ส่วนประกอบที่ไม่มีชีวิต (Abiotic component) - อนินทรียสาร เช่น C, N, CO2, H2O, และ O2 อินทรียสาร เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และฮิวมัส สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เช่น แสง อุณหภูมิ pH ความชื้น ฯลฯ ๒. ส่วนประกอบที่มีชีวิต (Biotic component) - ผู้ผลิต (producer) ได้แก่ พืชสีเขียว แพลงค์ตอนพืช และแบคทีเรียบางชนิด - ผู้บริโภค (consumer) แบ่งได้เป็น ผู้บริโภคปฐมภูมิ (primary consumer) ทุติยภูมิ (secondary consumer) และตติยภูมิ (tertiary consumer) - ผู้ย่อยสลาย (decomposer) ได้แก่ เห็ด รา ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา

ระบบนิเวศ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ ตติยภูมิ ผู้ผลิต ผู้ย่อยสลาย

องค์ประกอบของระบบนิเวศ ระบบนิเวศ มีคุณสมบัติที่สำคัญ คือ มีกลไกในการปรับสภาวะตนเองเพื่อให้อยู่ในสภาวะสมดุล เกิดการหมุนเวียนและถ่ายทอดสารอาหารผ่านสิ่งมีชีวิตซึ่งได้แก่ ผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลายนั่นเอง ถ้าระบบนิเวศนั้นได้รับพลังงานอย่างเพียงพอ และไม่มีอุปสรรคขัดขวางวัฏจักรของธาตุอาหาร ก็จะทำให้เกิด ภาวะสมดุล (equilibrium) ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา

การสำรวจ และวิเคราะห์ ข้าว สำรวจเป็นเส้นแทยงมุม 10 จุด - นาหว่าน 10 ต้น/จุด - นาดำ 1 กอ/จุด ไม้ผล สำรวจ 10 ต้นๆ ละ 4 ทิศ กระจายทั่วแปลง ผัก พืชไร่ ไม้ดอก สำรวจ 10 จุด กระจายทั่วแปลง ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา

การสำรวจ และวิเคราะห์ ลงสำรวจในแปลง นำมาวิเคราะห์ ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา

แบบสำรวจและวิเคราะห์ระบบนิเวศ แบบสำรวจและวิเคราะห์ระบบนิเวศ แปลง............................โดยกลุ่ม................................. วันที่สำรวจ............................เวลา...............................อายุพืช................วัน พืช.....................................พันธุ์....................................อากาศ........................................ รายการ / จุด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวม แมลงศัตรูพืช   แมลงที่มีประโยชน์ แมลงอื่น ๆ โรค วัชพืช ความสูง (ซ.ม.) ความกว้างทรงพุ่ม จำนวนใบ สถานการณ์ทั่วไป การจัดการ ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา

การสำรวจระบบนิเวศ ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา

ระบบนิเวศเกษตร พืชจะแข็งแรงหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม สภาพแวดล้อมดังกล่าวนั้นประกอบด้วยปัจจัยทางกายภาพ (เช่น แสงแดด, น้ำฝน, ลม, ธาตุอาหารในดิน) และปัจจัยทางชีวภาพ (เช่น ศัตรูพืช โรคพืช และวัชพืช) ปัจจัยทั้งหมดเหล่านี้ส่งผลต่อความสมดุลระหว่างแมลงที่กินพืชเป็นอาหารและศัตรูธรรมชาติของมัน การตัดสินใจในการจัดการศัตรูพืชนั้น จำเป็นต้องวิเคราะห์ระบบนิเวศเกษตรอย่างละเอียด ต้องรู้วิธีสำรวจแปลง การวิเคราะห์สถานการณ์แปลงปลูกพืช และวิธีตัดสินใจอย่างถูกต้องในการจัดการแปลง กระบวนการเหล่านี้เรียกว่า “การวิเคราะห์ระบบนิเวศเกษตร” หรือ “AESA” ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา

สวัสดี ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา