การเขียนแผนแบบUBD.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
Advertisements

ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การเขียน ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
G N L เรื่องที่น่าชื่นชม ยินดี การเรียนรู้ใหม่ ๆ ความคาดหวัง Greeting
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2554 โรงเรียนตากพิทยาคม
แผนการจัดการเรียนรู้
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
Intel® Teach Program Essentials Course v.10.1
ครูเสน่ห์ อุ่นสิม จำใจเสนอ.
โครงงาน ระบบงานที่สร้างสรรค์. ภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ การออกแบบระบบงาน และพัฒนา งานจำเป็นต้องศึกษา รายละเอียดของงาน โดย ทำการศึกษางานเดิม เขียนผัง ระบบงานงานเดิม.
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ภาพรวมแนวคิดของโครงงาน
สรุปเนื้อหาหน่วยการเรียนรู้
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
รูปแบบการสอนโมเดลซิปปา (CIPPA Model)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
บทที่ 1 การวิจัยกับการ พัฒนางานของครู
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้ (Theme)
“Backward” Unit Design?
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การอ่าน วิชาศท ๐๓๑ การใช้ภาษาไทย.
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ประเด็นสำคัญในการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
แบบฝึกคิดวิเคราะห์จากภาพ
การวัดผล (Measurement)
หน่วยที่ 3 สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา (Tablet) กิจกรรมที่2 การผลิต การใช้ การประเมินผล สื่อ ICT.
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
แนวคิดจากกิจกรรมเลือกสัตว์
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
ความคิดรวบยอดสอนอย่างไร : การใช้คำถาม ประเภทของคำถาม
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
วิธีการคิดวิเคราะห์.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
นางสาวทัศนีย์ ศรีภุมมา
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
การสร้างสื่อ e-Learning
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
คุณค่าของสื่อ.
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนแผนแบบUBD

นักเรียนควรจะรู้และเข้าใจเรื่องใด มาตรฐานการปฏิบัติได้ 1. การกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ (Identify desired result) นักเรียนควรจะรู้และเข้าใจเรื่องใด มาตรฐานของเนื้อหา (content standards) มาตรฐานการปฏิบัติได้ (performance นักเรียนสามารถทำอะไรได้ standards) ความเข้าใจที่คงทน (Enduring understandings) อะไรคือตะกอนความรู้ที่มีคุณค่า ที่มา: ฆนัท ธาตุทอง

มาตรฐานของเนื้อหา (content standards) หมายถึง เนื้อหา สาระการเรียนรู้ที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้ มาตรฐานด้านการปฏิบัติ (performance standards) หมายถึง ข้อกำหนดที่แสดงถึงระดับคุณภาพที่ได้รับการยอมรับ (ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง)

ความเข้าใจที่คงอยู่ ( Enduring understandings) หมายถึง ความรู้ที่สำคัญ (ตะกอนความรู้)ที่หลงเหลืออยู่ กับผู้เรียนอย่างถาวรตลอดไป ซึ่งเป็นผลที่เกิดจากการสอน ของผู้เรียนที่มีความเข้าใจที่ลึกซึ้ง(Insights)และถือว่าเป็น ความเข้าใจที่คงทน

2. การกำหนดหลักฐานแสดงถึงผลการเรียนรู้ (Determine acceptable evidence) ครูผู้สอนจะรู้ได้อย่างไรว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่กำหนดไว้ หลักฐาน วิธีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน การแสดงออกของนักเรียนควรมีลักษณะอย่างไร จะยอมรับได้อย่างไรว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจตามที่กำหนดไว้ ที่มา: ฆนัท ธาตุทอง

3. การออกแบบกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ( plan learning experiences and instructio n) หน่วยการเรียนรู้ใดบ้างที่ได้สอดประสานกันระหว่างขั้นที่ 1 และ 2 เข้าด้วยกัน โดยอาศัยกิจกรรมและคำถามสำคัญไปสู้ผู้เรียน ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ให้พิจารณาแนวทางการดำเนินงานดังนี้  เป้าหมายอยู่ที่ไหน  ทำไมจึงเรียนเรื่องนี้  ผู้เรียนเกาะติดการเรียนได้อย่างไร  จะตรึงผู้เรียนให้ติดตามต่อไปได้อย่างไร

 จะช่วยให้ผู้เรียนมีความพร้อมที่จะแสวงหาความรู้เครื่องมือ วิธีการเรียนรู้เพื่อไปถึงเป้าหมายได้อย่างไร  คิดซ้ำ ๆ หรือไม่  สะท้อนความรู้อะไรบ้าง  ทบทวนความรู้เดิมมากน้อยเพียงใด  นักเรียนมีโอกาสในการประเมินตนเองและรู้ความก้าวหน้าของตนเองหรือไม่อย่างไร  คุณครูเป็นเสมือนช่างตัดเย็บเสื้อผ้า ที่ได้ออกแบบตามความต้องการ ความสนใจ ความแตกต่างในสรีระของลูกค้าแล้วหรือยัง  ผู้เรียนได้จัดระบบความรู้ ด้วยความเข้าที่ลึกซึ้งคงทน

( Enduring understandings) 2. สิ่งที่จำเป็นต้องรู้และจำเป็นต้องทำ ความเข้าใจที่คงทน ( Enduring understandings) 2. สิ่งที่จำเป็นต้องรู้และจำเป็นต้องทำ 3. สิ่งที่มีคุณค่าและน่าจะรู้ ความเข้าใจ ที่ลุ่มลึกและยั่งยืน ที่มา: ฆนัท ธาตุทอง

ระบุหลักฐานการเรียนรู้ การกำหนดหลักฐานการเรียนรู้ ระบุหลักฐานการเรียนรู้ 1. สามารถอธิบายชี้แจงเหตุผล ระบุวิธีการประเมิน 2. การแปลความตีความ 3. การประยุกต์ กำหนดเกณฑ์การประเมินคุณภาพ (Rubric Scores) 4. การเขียนภาพที่เห็นด้วยตาจริง 5. สามารถหยั่งรู้มีความรู้สึกร่วม 6. มีองค์ความรู้เป็นของคนเอง ที่มา: ฆนัท ธาตุทอง