๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค (ปี )
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
จังหวัดนครปฐม.
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
สรุปผลการส่งเสริมพัฒนาการเด็กวัย ๐ - ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ส่งเสริมสัญจร.
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
พว.บุญชนะ กลางเสนา รพ.สต.โคกสว่าง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา นายแพทย์พรศักดิ์ อยู่เจริญ. สำนักโรคติดต่อทั่วไป

นโยบายศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค เด็กภายในศูนย์ฯ มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีพัฒนาการสมวัย (ทั้งร่างกาย สมอง และจิตใจ) ปลอดจากโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้

ศูนย์เด็กเล็กทุกแห่ง “ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค” เป้าหมาย ศูนย์เด็กเล็กทุกแห่ง ผ่านการรับรอง “ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค”

เป้าหมาย ครอบคลุมศูนย์เด็กเล็กทั่วประเทศในปี 2556 ปี 2554 ร้อยละ 30 ของศูนย์เด็กเล็กในพื้นที่เข้าร่วมโครงการ (ร้อยละ 30 ของศูนย์เด็กเล็กที่เข้าร่วมโครงการผ่านเกณฑ์ประเมิน) ปี 2555 ร้อยละ 60 ของศูนย์เด็กเล็กในพื้นที่เข้าร่วมโครงการ (ร้อยละ 50 ของศูนย์เด็กเล็กที่เข้าร่วมโครงการผ่านเกณฑ์ประเมิน) ปี 2556 ร้อยละ 100 ของศูนย์เด็กเล็กในพื้นที่เข้าร่วมโครงการ (ร้อยละ 80 ของศูนย์เด็กเล็กที่เข้าร่วมโครงการผ่านเกณฑ์ประเมิน) 4

กระบวนการพัฒนา... ประเทศไทย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กระบวนการพัฒนา... ประเทศไทย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ครอบครัว ชุมชน พื้นที่ ภูมิภาค ประเทศ บ้าน

กระบวนการพัฒนา...ศูนย์เด็กเล็ก กระทรวงสาธารณสุข Input Process Output Outcome Impact เข้าร่วมโครงการ ศดล. - น่าอยู่ - ปลอดโรค - ฯลฯ ดำเนินการตามแนวทาง ข้อกำหนดและเกณฑ์มาตรฐานของโครงการฯ - ผู้บริหาร - ครูและผู้ดูแลเด็ก - ผู้ปกครอง ผู้มีส่วนร่วมในชุมชน จนท.สธ. (ส่งเสริม, สนับสนุน, แนะนำ และประเมินรับรอง ผ่านการรับรองคุณภาพ - ศดล.น่าอยู่ - ศดล.ปลอดโรค - ฯลฯ - เด็กมีสุขภาพแข็งแรง ไม่เจ็บป่วย เด็กพฤติกรรมสุขภาพเหมาะสม - เด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาด ปลอดจากโรค/ภัย โรค/ภัยลดลง พัฒนาการของเด็กเหมาะสมกับวัย ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา และอารมณ์ เด็กมีพัฒนาในการเรียนรู้ที่ดี เด็กมีอารมณ์แจ่มใส ร่าเริง และมีสุขภาพจิตที่ดี เด็กมีร่างกายที่แข็งแรง

ปัจจัยส่งเสริมความสำเร็จ การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ผู้ปกครอง และชุมชน บุคลากรมีเพียงพอต่อการดำเนินงาน อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ในการดูแลความสะอาดและการป้องกันควบคุมโรคเพียงพอ บุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาในการให้ข้อแนะนำและคำปรึกษาที่เหมาะสม

ปัจจัยความสำเร็จ ชุมชนเข้มแข็ง ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค พ่อแม่ผู้ปกครอง ผู้บริหาร อบต. เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข ครูผู้ดูแลเด็ก ครูพี่เลี้ยง ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค สภาพแวดล้อมสะอาดปลอดภัย ความรู้ การป้องกันควบคุมโรค พฤติกรรมสุขภาพถูกต้อง คัดกรอง เฝ้าระวัง เครือข่ายเข้มแข็ง ปัจจัยความสำเร็จ

ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ภายนอกศูนย์ ผู้ปกครอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน กระทรวงสาธารณสุข สปสช. เอกชน, NGO ฯลฯ เครือข่ายการทำงาน อย่างมีส่วนร่วม - ร่วมรับรู้ - ร่วมคิด - ร่วมตัดสินใจ - ร่วมทำ - ร่วมตรวจสอบ - ร่วมรับผิดชอบ ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค นโยบายและแผนงานโครงการ บุคลากร – งบประมาณ - วัสดุอุปกรณ์

ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ๑. ครูผู้ดูแลเด็กมีสุขภาพและความรู้ดี ๒. การบริหารจัดการดี ๓. สภาพแวดล้อมดี + ๑๐ มาตรการ สำหรับครูผู้ดูแลฯ พฤติกรรมสุขภาพของเด็ก ภายในศูนย์ ยุทธศาสตร์ ๓ ดี ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค

ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ภายนอกศูนย์ ผู้ปกครอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน กระทรวงสาธารณสุข สปสช. เอกชน, NGO ฯลฯ ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ผ่านการรับรอง

ศูนย์เด็กเล็ก ชุมชนร่วมใจ ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค กรมควบคุมโรค มอบประกาศนียบัตรนี้ให้ไว้เพื่อแสดงว่า ศูนย์เด็กเล็ก ชุมชนร่วมใจ ได้ผ่านการเกณฑ์การประเมินมาตรฐาน ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมประเมินจันทวิมล กรมควบคุมโรค ( นายพรเทพ ศิริวนารังสรรค์ ) อธิบดีกรมควบคุมโรค 12

อบรมต่อเนื่องฯ ปี 2555( 21-22 กุมภาพันธ์ 2555)

สร้างความเข้าใจกับผู้ปกครอง ผลเสียของการเกิดโรคในศูนย์เด็ก ลูกของใคร ใครก็รัก

ความร่วมมือในการควบคุมโรคของผู้ปกครอง ไม่ลูกเรา ก็ลูกเขา อาจติดโรคแน่นอน พวกเรา...จะมีส่วนร่วมในการควบคุมโรคได้อย่างไรบ้าง มาร่วมมือกันจัดสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในศูนย์เด็กด้วยกัน เพราะลูกเรา เรียน กิน นอน เล่น ที่นี้

พิธีมอบรางวัลศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่+ปลอดโรคระดับจังหวัด เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานโครงการ "ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค" ที่เข้าร่วมโครงการฯ ปี 2554 - 2555 หน่วยงาน ศูนย์เด็กเล็ก จำนวน (แห่ง) เข้าร่วมโครงการฯ ปี 54 (ร้อยละ) ปี 55 (ร้อยละ) รวมสะสม (ร้อยละ) สคร.1 546 48.2 36.8 85.0 สคร.2 720 29.2 34.7 63.9 สคร.3 1,298 48.8 85.6 สคร.4 1,225 10.1 73.1 83.2 สคร.5 2,062 47.5 51.5 99.0 สคร.6 3,461 50.5 35.0 85.5 สคร.7 3,068 25.8 61.2 87.0 สคร.8 820 - 88.9 สคร.9 1,184 44.1 29.5 73.6 สคร.10 2,778 37.3 39.7 77.0 สคร.11 1,079 46.3 31.4 77.7 สคร.12 1,261 27.2 58.6 85.8 รวม 19,502 35.9 48.1 84.0 หมายเหตุ: ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2555

ผลการดำเนินงานโครงการ "ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค" ที่เข้าร่วมโครงการผ่านเกณฑ์ ปี 2554 - 2555 หน่วยงาน ศูนย์เด็กเล็ก จำนวน (แห่ง) ผ่านเกณฑ์ ปี 54 (ร้อยละ) ปี 55 (ร้อยละ) รวมสะสม (ร้อยละ) สคร.1 464 36.9 78.6 55.0 สคร.2 460 46.7 72.4 60.7 สคร.3 1,112 9.0 52.2 33.6 สคร.4 1,020 100.0 58.3 63.3 สคร.5 2,043 52.3 65.0 58.9 สคร.6 2,959 31.9 60.4 43.6 สคร.7 2,669 43.0 77.9 67.6 สคร.8 729 - 72.7 สคร.9 871 21.5 158.2 76.2 สคร.10 2,141 16.4 80.1 49.2 สคร.11 839 49.8 107.4 73.1 สคร.12 1,082 35.0 27.9 30.1 รวม 16,389 34.7 70.4 55.2 หมายเหตุ: ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2555

ผลการนิเทศ ติดตามงานศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค หน่วยงานสาธารณสุขระดับเขตและจังหวัด (ผู้บริหาร) - ให้ความสำคัญและสนับสนุนการดำเนินงาน - มีผู้รับผิดชอบชัดเจน - ประสานงานและทำงานร่วมกับจังหวัดเป็นอย่างดี ปัญหา/อุปสรรค - การเปลี่ยนผู้รับผิดชอบงานคนใหม่ - ทีมประเมินไม่เพียงพอ - ขาดความต่อเนื่องของการนิเทศติดตามงานในพื้นที่ - ข้อจำกัดในการบูรณาการงานศูนย์เด็กเล็กร่วมกัน(บางพื้นที่)

ผลการนิเทศ ติดตามงานศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค(ต่อ) องค์กรปกครองท้องถิ่น (เทศบาล/อบต.) - ให้ความสำคัญและสนับสนุนการดำเนินงาน - มีแผนงาน ผู้รับผิดชอบ และงบประมาณ ปัญหา/อุปสรรค - ผู้บริหาร ส่วนใหญ่มีความเข้าใจศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเฉพาะในด้านการศึกษา แต่ไม่เข้าใจในด้านสุขภาพ - นโยบายด้านการพัฒนาสุขภาพยังไม่ชัดเจน และส่งผลต่อความต่อเนื่องในการดำเนินงาน - ผู้รับผิดชอบงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กยังขาดความเข้าใจ/กระตือรือร้น 25

ผลการนิเทศ ติดตามงานศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค(ต่อ) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (เทศบาล/อบต.) - ครูผู้ดูแลเด็กให้ความสนใจและสมัครเข้าร่วมโครงการจำนวนมาก - สามารถดำเนินงานให้สอดคล้องกับข้อกำหนดของกรมควบคุมโรค ปัญหา/อุปสรรค - จำนวนบุคลากรไม่เพียงพอต่อการดูแลเด็ก - ครูผู้ดูแลเด็กขาดความรู้ความเข้าใจในการป้องกันควบคุมโรค - ครูผู้ดูแลเด็กไม่ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี (Chest X-ray) - สื่อการสอนเรื่องการป้องกันควบคุมโรคยังมีไม่เพียงพอ

ผลการนิเทศ ติดตามงานศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค(ต่อ) ข้อเสนอแนะ จากครูผู้ดูแลเด็ก - จัดอบรมให้ความรู้แก่ครูผู้ดูแลเด็กอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ - จัดหาสื่อการสอนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้เพียงพอ/หลากหลายมากขึ้น ข้อเสนอแนะ จากเจ้าหน้าที่ระดับเขตและจังหวัด - บูรณาการโครงการศูนย์เด็กเล็กที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกัน (สธ) - ควรจัดทำและพัฒนาระบบฐานข้อมูลศูนย์เด็กเล็ก - นิเทศ/ติดตาม และให้การสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง - การขยายผลในรร.อนุบาล ควรมีการพูดคุยกับผู้บริหารส่วนกลางก่อน เพื่อพื้นที่จะทำงานได้ง่ายขึ้น

ผลการนิเทศ ติดตามงานศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค(ต่อ) ข้อเสนอแนะ จากทีมผู้นิเทศ - ผู้รับผิดชอบงานใหม่ สามารถเรียนรู้จากผู้รับผิดชอบงานเดิม และเข้ารับการอบรมผู้ประเมินของโครงการฯ - ให้สาธารณสุขอำเภอเป็นเครือข่ายผู้ประเมินในระดับพื้นที่ และมีส่วนร่วมในการนิเทศ และประชาสัมพันธ์โครงการร่วมกับจังหวัด - การบริหารจัดการงบประมาณที่จำกัด สามารถบูรณาการร่วมกับงานศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ 28

ผลการนิเทศ ติดตามงานศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค(ต่อ) ข้อเสนอแนะ จากทีมผู้นิเทศ - การดำเนินงานในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มุ่งเน้นการทำงานแบบ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและการแก้ไขปัญหา - ใช้ศักยภาพและทรัพยากรในชุมชน เช่น กรณีขาดงบประมาณ ใช้กองทุนสุขภาพตำบล (อบต.+สปสช.) กองทุนสาธารณประโยชน์ต่างๆ หรือผู้มีฐานะในพื้นที่ รวมถึงพลังศรัทธาของคนในชุมชน กรณีขาดแคลนบุคลากร อาจใช้กลุ่มจิตอาสา ชมรมผู้สูงอายุภายในชุมชน เป็นต้น 29

ขอบคุณทุกท่าน