โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

ประเด็นการตรวจติดตาม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
เขาวังคู่บ้าน ขนมหวาน เมืองพระ เลิศล้ำศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
และคุณงามความดีของข้าราชการพลเรือนสามัญ
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นางสาววิไลวรรณ ดุลยพัฒน์
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหาร จัดการศูนย์บริการฯ หนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม หนึ่งตำบลหนึ่งฟาร์ม ส่งเสริมการผลิตสินค้า ปลอดภัยและได้มาตรฐาน ส่งเสริมการผลิตสินค้า.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
สรุปผลการดำเนินงานโครงการ ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต
- กรมส่งเสริมการเกษตร -
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2551 รายเดือน จดหมายข่าว Food Safety ประจำเดือนนี้ ขอเสนอเรื่องที่ทำให้ กรมส่งเสริมการเกษตรได้มี หนังสือให้เขต ศูนย์ปฏิบัติการ.
แบ่งออกเป็น 3หมวด คือ 1. ข้อมูลหมวด ก. เป็นข้อมูลส่วนบุคคลของ เกษตรกร ประกอบด้วย ข้อ 1. ลักษณะการประกอบการเกษตร ข้อ 2. สมาชิกในครัวเรือนที่ร่วมกิจกรรม.
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
สำนักงานเกษตรจังหวัด
โครงการผลักดันการส่งออกกล้วยไม้
โครงการบริหารการจัดการศัตรูพืชและการเขตกรรมเพื่อลดความเสี่ยงให้กับเกษตรกร สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร.
โครงการขึ้นทะเบียนการปลูก พืชเศรษฐกิจหลัก 3 ชนิด
หลักสูตร การผลิตพืชตามระบบ การรับรองมาตรฐาน GAP
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ฝึกอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี 51
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
ITกับโครงการ Food safety
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ
บริการตรวจวิเคราะห์ สารพิษตกค้าง เพื่อสนับสนุนความมั่นใจให้แก่ เกษตรกรเมื่อดำเนินการผลิตตาม คำแนะนำของเจ้าหน้าที่แล้ว ผลผลิต ที่ได้จะไม่มีสารพิษตกค้าง.
หัวข้อสัมมนา กลุ่มที่ 3 การฝึกอบรมของ ส. ป. ก. ควร อบรมอย่างไรบ้าง ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ควรจัดทำ หลักสูตรอย่างไร การดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรรุ่น ใหม่ จะทำอย่างไร.
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553

1.1 อบรมเกษตรกรหลักสูตรระบบการผลิตตาม มาตรฐาน GAP พืช - บุคคลเป้าหมาย  เกษตรกรที่สมัครเข้าสู่การรับรองมาตรฐานGAP ปี 2553 จำนวน 36,266 ราย - วิธีการ  รวมกลุ่มเกษตรกรที่ผลิตพืชชนิดเดียวกัน หรือกลุ่มพืชที่มีลักษณะการผลิตคล้ายกันมีพื้นที่อยู่ใกล้หรือพื้นที่เดียวกัน กลุ่มละประมาณ 20-25 ราย

- จุดเน้น  ทบทวนความรู้เรื่องข้อกำหนด GAP 8 ข้อ  ความรู้เรื่องแผนควบคุมการผลิตพืช  ความรู้เรื่องการจดบันทึกแปลงและฝึกปฏิบัติการจดบันทึก  ความรู้ในประเด็นที่กลุ่มต้องการ หรือเจ้าหน้าที่เห็นควรเพิ่มเติมแก่เกษตรกรเพื่อให้สามารถผ่านการตรวจรับรองตามมาตรฐาน GAP - งบประมาณ  จำนวน 2 วัน ๆ ละ 100 บาท

1.2 ติดตามให้คำปรึกษาและประเมินแปลงเบื้องต้นโดยเจ้าหน้าที่ที่ปรึกษา - บุคคลเป้าหมาย  เกษตรกรที่สมัครเข้าสู่การรับรองมาตรฐานGAP ปี 2553 - วิธีการ  เจ้าหน้าที่ที่ปรึกษาติดตามให้คำปรึกษา แนะนำการปฏิบัติของเกษตรกร และประเมินแปลงเบื้องต้นตามแบบฟอร์ม (ประมาณ 3 ครั้ง/แปลง)  พิมพ์ใบประกาศนียบัตรรับรองการผ่านประเมินแปลงเบื้องต้นให้แก่เกษตรกรที่ผ่านการประเมินเบื้องต้นแล้ว  รวบรวมรายชื่อเกษตรกรที่ผ่านการประเมินเบื้องต้น ส่งให้หน่วยตรวจรับรอง  ติดตามผลการตรวจรับรอง และแจ้งผลการตรวจรับรองและใบรับรองให้เกษตรกร

- จุดเน้น  การจดบันทึกในแบบบันทึกอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง  สถานที่เก็บสารเคมีปลอดภัยและถูกต้องตามข้อกำหนด  การใช้สารเคมีตามคำแนะนำ - งบประมาณ  สำหรับเจ้าหน้าที่ที่ปรึกษา แปลง ๆ ละ 190 บาท

1.3 จัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้องกับระบบการรับรองมาตรฐาน GAP - บุคคลเป้าหมาย  เกษตรกรที่สมัครเข้าสู่การรับรองมาตรฐานGAP ปี 2553 - รายละเอียด  ใบสมัคร GAP-01 ตามแบบฟอร์มปี 2552  แบบประเมินแปลงเบื้องต้น ตามแบบฟอร์มปี 2552  ใบประกาศนียบัตรรับรองการผ่านประเมินเบื้องต้น ตามแบบฟอร์มปี 2552 - งบประมาณ  จำนวน 10 บาท/3 รายการ

2.1 อบรมเตรียมความพร้อมเกษตรกรเข้าสู่ระบบการรับรอง มาตรฐาน GAP ปี 2554 - บุคคลเป้าหมาย  เกษตรกรทั่วไปที่สนใจการผลิตพืชตามระบบการรับรองมาตรฐาน GAP จำนวน 203,734 ราย - วิธีการ  รวมกลุ่มเกษตรกรที่ผลิตพืชชนิดเดียวกัน หรือกลุ่มพืชที่มีลักษณะการผลิตคล้ายกัน มีพื้นที่อยู่ใกล้หรือพื้นที่เดียวกัน กลุ่มละประมาณ 20-25 ราย เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการพัฒนาไป สู่การตรวจรับรอง GAP แบบกลุ่มตามความสมัครใจของเกษตรกร

- จุดเน้น  ถ่ายทอดความรู้ตามข้อกำหนดระบบการผลิตตามมาตรฐาน GAP 8 ข้อ  นำความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดไปปฏิบัติตามไม่น้อยกว่า 1 ประเด็น - งบประมาณ  จำนวน 1 วัน ๆละ 100 บาท

3. นำร่องและศึกษารูปแบบระบบการรับรองมาตรฐาน GAP แบบกลุ่ม - บุคคลเป้าหมาย  กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ หมู่ 5 ตำบลสิงหนาท อำเภอลาดบัวหลวง จังหวัด พระนครศรีอยุธยา (กลุ่มนำร่องของเขตที่ 1)

- วิธีการ  ส่วนกลาง เขต จังหวัด และอำเภอร่วมกันดำเนินการในกลุ่มนำร่อง โดยร่วมกับมกอช. ดำเนินกิจกรรมต่อเนื่องปี 2552 จำนวน 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. อบรมสมาชิกกลุ่มเพื่อทำความเข้าใจระบบเอกสารและฝึกการนำ แบบฟอร์มต่าง ๆ ไปทดลองปฏิบัติ 2. ตรวจติดตามการใช้ระบบเอกสารตามระบบควบคุมภายในของกลุ่ม 3. อบรมการตรวจสอบแปลงภายในและฝึกปฏิบัติให้กับผู้ตรวจสอบแปลง ภายในของกลุ่ม 4. ตรวจติดตามการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบแปลงภายในและระบบ ควบคุมภายในของกลุ่ม 5. ประเมินความพร้อมระบบควบคุมภายในของกลุ่มก่อนประสานหน่วย ตรวจรับรองดำเนินการให้การรับรองกลุ่มเกษตรกร

- จุดเน้น  เจ้าหน้าที่ในพื้นที่เข้าไปติดตามการดำเนินการของกลุ่มนำร่องฯ เพื่อให้เกษตรกรมีความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตามระบบควบคุมภายในของการรับรอง GAP แบบกลุ่ม - งบประมาณ  ค่าใช้จ่ายในการเดินทางของเจ้าหน้าที่เขต จำนวน 4,500 บาท/กลุ่ม  ค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมกลุ่มเกษตรกรและค่าใช้จ่ายในการเดินทางจังหวัดและอำเภอ จำนวน 23,000 บาท/กลุ่ม