รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
Advertisements

นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
รายงานสถานการณ์การผลิตข้าว
สรุปผลการศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพาราในรอบปี 2555
รายงานการระบาดศัตรูพืช
โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวและสร้างความเข้มแข็งให้ชาวนา เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าอาเซียน (AFTA) ประสานงานกับกรมการข้าว และสำนักงานเกษตรจังหวัด.
เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ คชก.
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
สหกรณ์การเกษตรชุมพวง จำกัด
ส่วนฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
หลักการแนวคิด วิธีการปฏิบัติการจัดการเพลี้ยแป้งในมันสำปะหลัง
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
ผู้เข้าร่วมสัมมนา รวม ๒๐๕ คน
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
วิลาวัลย์ วงษ์เกษม ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมการผลิตพืชเส้นใยและพืชหัว
การดำเนินงานการบริหารศัตรูพืช
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
สำนักงานเกษตรจังหวัด
ครั้งที่ 1 วันที่ กุมภาพันธ์ 2556
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
เท่าเดิม ลดลง เพิ่มขึ้น เท่าเดิม ลดลง การเพิ่ม-ลดของสมาชิกกลุ่ม
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
การใช้แมลงศัตรูธรรมชาติควบคุม เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
1 การจัดเก็บและใช้ประโยชน์ข้อมูล โครงการมาตรการแทรกแซงตลาดมัน สำปะหลัง ออมทรัพย์ ไวยากรณ์วิลาศ ผอ. กลุ่มวิเคราะห์และวางระบบข้อมูล ศูนย์สารสนเทศ.
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
บริการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืช
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
ผู้ช่วยเลขา สามารถจัดตั้งกองทุนพัฒนา อาชีพการเกษตร เพื่อช่วยเหลือ เกษตรกรเป็น แบ่งการบริหาร ลงในกลุ่มรับผิดชอบทั้งหมด 5 กลุ่ม คือ 1. กองทุนพันธุ์สัตว์
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
เทคนิคการวิเคราะห์พื้นที่ และเทคโนโลยีการผลิตพืช
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
โดย ครูติดแผ่นดินข้าว เชียงราย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
โดย ครูติดแผ่นดินลำไย เชียงราย
วันที่ 22 กรกฎาคม 2553 นายธวัฒน์ชัย ม่วง ทอง ได้ให้เกียรติเป็นประธานเปิดงานโครงการคลินิกพืช ณ สำนักงานเกษตรอำเภอบ้านสร้าง สถานการณ์การทำ การเกษตรในสภาวะปัจจุบัน.
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
หน่วย เคลื่อนที่เร็ว วัตถุประสงค์ เพื่อควบคุมสถานการณ์ ศัตรูพืชและลดปัญหาการระบาด ได้ทันต่อเหตุการณ์ เป้าหมาย ครอบคลุมพื้นที่การระบาด ศัตรูพืช 76 จังหวัด.
การสนับสนุน ปัจจัยชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช
แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานสถานการณ์การระบาดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง ภาคตะวันออก ข้อมูล ณ วันที่ 3 มีนาคม 2553 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 จังหวัดระยอง

สถานการณ์การระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง สถานการณ์การระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง ถึงวันที่ 3 มีนาคม 2553 พื้นที่ระบาด 6 จังหวัด ในภาคตะวันออก ได้แก่ จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ปราจีนบุรี ระยองและสระแก้ว รายละเอียดดังนี้ วิเคราะห์สถานการณ์ ข้อมูลพื้นที่การปลูกมันสำปะหลัง ในภาพรวม 6 จังหวัด ภาคตะวันออก รวม 1,786,433 ไร่ พื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง (ไร่) จันทบุรี 383,702 ฉะเชิงเทรา 351,705 ชลบุรี 301,239 ปราจีนบุรี 192,831 ระยอง 89,937 สระแก้ว 467,019 รวม 1,786,433

ตามมาตรการเร่งด่วนและมาตรการเฝ้าระวัง 2. การระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง 6 จังหวัด ภาคตะวันออก ตามมาตรการเร่งด่วนและมาตรการเฝ้าระวัง พื้นที่ระบาดรวม 194,288 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 11 ของพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังทั้งหมด 6 จังหวัด ภาคตะวันออก (1,786,433 ไร่) พื้นที่ยังไม่ระบาดรวม 1,592,145 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 89

3. พื้นที่การระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง ใน 6 จังหวัด ภาคตะวันออก ตามมาตรการเร่งด่วนและมาตรการเฝ้าระวัง แบ่งตามช่วงอายุมันสำปะหลัง ดังนี้ -อายุ 1 – 4 เดือน พื้นที่ระบาด 116,859 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 60 ของพื้นที่ระบาดรวม(194,288 ไร่) -อายุ 5 – 7 เดือน พื้นที่ระบาด 52,790 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 27 ของพื้นที่ระบาดรวม(194,288 ไร่) -อายุ 8 เดือนขึ้นไป พื้นที่ระบาด 24,639 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 13 ของพื้นที่ระบาดรวม(194,288 ไร่) รวมพื้นที่ระบาด 194,288 ไร่

ต่อพื้นที่ระบาดรวมรายจังหวัด รายละเอียดพื้นที่และร้อยละการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังตามช่วงอายุมันสำปะหลัง ต่อพื้นที่ระบาดรวมรายจังหวัด อายุมันสำปะหลัง 1-4 เดือน 5-8 เดือน 8 เดือนขึ้นไป รวมพื้นที่ระบาด (ไร่) ร้อยละ (ไร่) ร้อยละ (ไร่) ร้อยละ (ไร่) จันทบุรี 2,000 22 - - 6,975 78 8,975 ฉะเชิงเทรา 32,500 54 25,325 41 3,284 5 61,109 ชลบุรี 5,035 27 7,855 43 5,610 30 18,500 ปราจีนบุรี 58,895 90 5,057 8 1,092 2 65,044 ระยอง 3,379 33 4,295 42 2,583 25 10,257 สระแก้ว 15,050 49 10,258 34 5,095 17 30,403 ภาพรวม 116,859 60 52,790 27 24,639 13 194,288

สาเหตุการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง 1.สภาพอากาศแห้งแล้ง เหมาะสมต่อการขยายพันธุ์ของเพลี้ยแป้ง จึงทำให้เกิด การแพร่กระจายและการระบาดมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น 2.เกษตรกรยังไม่ตระหนักด้านการป้องกัน จึงไม่ได้ทำลายเศษซาก ต้นมันสำปะหลังแปลงที่มีการระบาดของเพลี้ยแป้ง หลังการเก็บเกี่ยว จึงเป็นแหล่งขยาย พันธุ์เพลี้ยแป้งไปยังแปลงปลูกในบริเวณใกล้เคียง ทำให้การระบาดมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น 3.การดำเนินการควบคุมการเคลื่อนย้ายท่อนพันธุ์มันสำปะหลังโดยชุมชน ยังไม่มีการนำไปปฏิบัติอย่างจริงจัง 4.เกษตรกรไม่ตระหนักในการปฏิบัติท่อนพันธุ์ที่ถูกต้องให้ปลอดจากเพลี้ยแป้ง ก่อนปลูก สำหรับเกษตรกรที่ปลูกมันสำปะหลังไปแล้ว ส่วนใหญ่ไม่ได้แช่ท่อนพันธุ์ ด้วยสารเคมีกำจัดเพลี้ยแป้งก่อนปลูก

ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ 1. มันสำปะหลังอายุ 8 เดือนขึ้นไป ใน 6 จังหวัดภาคตะวันออก รวมพื้นที่ระบาด 24,639 ไร่ หรือ คิดเป็นร้อยละ 13 ของพื้นที่ที่มีการระบาดรวม ใน 6 จังหวัด ภาคตะวันออก หลังจากที่เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้วจะทำให้พื้นที่การระบาดลดลงร้อยละ 13 ดังนั้น จังหวัดและอำเภอจึงควรประชาสัมพันธ์ ให้เกษตรกรมีการทำลายซากต้นมันสำปะหลัง มีการไถตากดิน และมีการแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีก่อนปลูก 2. จังหวัดควรเร่งจัดซื้อสารเคมีตามโครงการการจัดการเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง และแจกจ่ายให้กับเกษตรกรที่กำลังจะปลูกมันสำปะหลังใช้แช่ท่อนพันธุ์ก่อนปลูก

ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ 3. ประสานงานให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมการเคลื่อนย้ายท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง 4. รณรงค์และสนับสนุนสารเคมี ตามโครงการการจัดการเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง ให้เกษตรกรฉีดพ่นสารเคมี ในพื้นที่ระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง อายุ 1-4 เดือน และอายุ 5-8 เดือน ที่มีพื้นที่ระบาดรวม 169,649 ไร่ หรือ คิดเป็นร้อยละ 87 ของพื้นที่ที่มีการระบาดรวม ใน 6 จังหวัด ภาคตะวันออก จะทำให้พื้นที่การระบาดของเพลี้ยแป้งลดลงในระดับหนึ่ง พร้อมกับเร่งรัดอำแภอ/ตำบลดำเนินการจัดตั้งศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน และให้ความรู้แก่สมาชิกเพื่อเป็นกลไกในการปฏิบัติการควบคุมเพลี้ยแป้งโดยวิธีผสมผสาน อีกด้านหนึ่ง

ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ 5. ควรมีการประสานงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อบจ. อบต. เพื่อขอรับการสนับสนุนการดำเนินงานต่อไป 6. มาตรการเฝ้าระวังพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังที่ยังไม่เกิดการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง ใน 6 จังหวัด ภาคตะวันออก รวมจำนวน 1,592,145 ไร่ หรือ คิดเป็นร้อยละ 89 ของพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังทั้งหมด ควรมีการประชาสัมพันธ์เน้นหนักให้เกษตรกรเกิดความตระหนักและมีการหมั่นออกสำรวจแปลงปลูกมันสำปะหลังเป็นประจำสม่ำเสมอทุกสัปดาห์ หากพบเพลี้ยแป้งระบาดให้เด็ดยอดทำลาย และฉีดพ่นด้วยสารเคมีไทอะมิโทแซม อัตรา 2 กรัม ผสมไวท์ออย 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร