************************************************

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงานคอมพิวเตอร์.
Advertisements

การจัดการอาหารปลอดภัยในโรงเรียน โครงการเท่ห์กินผักน่ารักกินผลไม้
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
โครงงาน เรื่อง. ปุ๋ยฟื้นฟูสภาพดิน จัดทำโดย 1. ด. ญ
ทอฟฟี่มะละกออัลมอนด์
เม็ดขนุนเชื่อม.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย
สรุปใส่ปุ๋ย 100 กก.พืชกินปุ๋ยได้แค่ 30 กก.
เสนอ รศ.สุวิทย์ วรรณศรี รายวิชา BIOL351 ชีววิทยาของสัตว์ในท้องถิ่น
โครงการภายใต้แผนพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปี 2553
โครงการภายใต้แผนพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ปีงบประมาณ 2553 (ประชาคมระยะที่ 1) จังหวัดนราธิวาส.
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
ขนมไทย จัดทำโดย ด. ช. กลวํชร เชื้อเกตุ ด. ช. ณัฐชนน กำจาย เสนอ อ
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
โดย นางสาวสุพัสตรา เหล็กจาน สำนักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
การทำน้ำหมักสมุนไพรขับไล่แมลงในสวนผัก
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิเชียร อารยะสมสกุล
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
สภาพน้ำทิ้งของโรงงานผลิตอาหาร ประเภทข้าวเกรียบ ที่เปลี่ยนแปลงไป ภายหลังเติมน้ำสกัด ชีวภาพ BE.
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองราชบุรี
การจัดการองค์ความรู้ (KM) การทำนาข้าวโดยไม่เผาตอซัง
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
น้ำหมักปลาร้าปราบ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดย นายอาสา ประทุมศาลา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ.
การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพในบ่อเลี้ยงปลาดุก
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การจัดการความรู้ เรื่อง การใช้สารชีวภัณฑ์แทนการใช้สารเคมี
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย (พืชผัก)
ข้าวแต๋น.
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
น้ำสกัดชีวภาพ BIOEXTRACT สารสารพัดประโยชน์ ครูไพฑูรย์ ศิริรักษ์
การบริหารองค์ความรู้ ครั้งที่ 1/2552
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
เกษตรทฤษฎีใหม่.
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
(กิจกรรมการเลี้ยงโคเนื้อ)
การดำเนินงานยุวเกษตรกรอย่างไร ให้ประสบผลสำเร็จ
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
การผลิตข้าวฮาง บ้านนาแก หมู่ที่ 7 ตำบลนาแก อำเภอนาวัง จังหวัดหนองบัวลำภู การแช่ข้าวเปลือก นำเมล็ดข้าวเปลือกมาล้างทำความสะอาดเพื่อเอาสิ่งเจือปนออก แช่เมล็ดข้าวเปลือกในน้ำนาน.
ปลาหางนกยูง.
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
องค์ความรู้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์การทอเสื่อกก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอเสื่อกกบ้านนาหมอม้า ผู้ให้องค์ความรู้ นางนิ่ม นวลขาว ที่อยู่ 961 หมู่ 7.
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
การจัดการความรู้ (KM) ปี 2558 สำนักงานเกษตรอำเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

************************************************ การจัดการความรู้ (KM) สำนักงานเกษตรอำเภอบางกล่ำ ตามนโยบายของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่ได้ปรับเปลี่ยนระบบการทำงานบนฐานของทรัพยากร (Resource – Based) มาเป็นการทำงานบนฐานขององค์ความรู้ ( Knowledge – Based ) นั้น สำนักงานเกษตรอำเภอบางกล่ำ จึงได้ดำเนินงานจัดการความรู้ตามขั้นตอน ดังนี้ 1.ขั้นตอนการเตรียมการ 1.1. แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ รับผิดชอบงาน KM ระดับอำเภอ 1.2. ประชุมสำนักงานระดมความคิดเห็นเพื่อตรวจสอบองค์ความรู้ 1.3. รวบรวมแหล่งข้อมูลองค์ความรู้ 1.4. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อหาองค์ความรู้แต่ละกิจกรรม/โครงการ 1.5. จัดความรู้เป็นระบบโดยการรวบรวมองค์ความรู้ เป็นหมวดหมู่ และพัฒนาปรับปรุงเป็นฐานข้อมูล 2. ขั้นตอนการดำเนินการ 2.1.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในกลุ่มองค์กรกิจกรรม 2.2. ประชุมนักปฏิบัติในการประชุม DW และ เวทีหน่วยงานย่อยทุกเดือน 2.2 นำองค์ความรู้ที่ได้ มาบันทึก เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3. สรุป 3.1 รวบรวมองค์ความรู้ เป็นหมวดหมู่ และพัฒนาปรับปรุงเป็นฐานข้อมูล ************************************************

กรณีตัวอย่าง การจัดการองค์ความรู้ การเลี้ยงปลาดุกชีวภาพ

วัสดุอุปกรณ์ บ่อปูน ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 100 – 120 ซ.ม. บ่อปูน ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 100 – 120 ซ.ม. ท่อระบายน้ำล้นในบ่อปูน วัสดุคลุมปากบ่อปูน ( ล้อยางรถยนต์ , ตาข่าย) น้ำหมักชีวภาพ

ขั้นตอนการดำเนินการ การเตรียมน้ำหมักชีวภาพ กล้วยน้ำว้า 1 กก. กล้วยน้ำว้า 1 กก. มะละกอสุก 1 กก. ฟักทองสุก 1 กก. น้ำตาลทรายแดง 1 กก. น้ำสะอาด 3 ลิตร หมักไว้ประมาณ 15 วัน กรองเอาน้ำมาใช้

การเตรียมบ่อปูน แช่บ่อปูนด้วยน้ำสะอาด ทิ้งไว้ 7-10 วัน แช่บ่อปูนด้วยน้ำสะอาด ทิ้งไว้ 7-10 วัน ระบายน้ำออก ใช้ผักบุ้งขัดถูภายในรอบบ่อปูนปล่อยให้แห้ง 1-2 วัน เติมน้ำ แช่น้ำทิ้งไว้ ประมาณ 5 วัน ระบายน้ำออก เติมน้ำสะอาด ความสูงของน้ำประมาณ 5-6 นิ้ว ละลายน้ำหมักชีวภาพ อัตรา 1/2 ช้อนโต๊ะ ใส่ในบ่อ ทิ้งไว้ประมาณ 2-3 วัน ปล่อยลูกปลา

การเลี้ยงปลาดุก ปล่อยลูกปลาดุก ขนาด 2.5-3 ซ.ม. จำนวน 75-80 ตัว/บ่อ ปล่อยลูกปลาดุก ขนาด 2.5-3 ซ.ม. จำนวน 75-80 ตัว/บ่อ ให้อาหารลูกปลาดุก วันละ 2 มื้อ (เช้า,เย็น) อัตรา อาหาร/ลูกปลา ประมาณมื้อละ 5 เม็ด/ตัว นำอาหารปลาแช่น้ำสะอาด นาน 3-5 นาที หว่านให้กิน ในบ่อใส่ผัก (ผักตบชวา , ผักบุ้ง) หลังจากเลี้ยงได้ประมาณ 15-20 วัน ให้ลดอาหารลงเหลือ 1 มื้อ (ตัดมื้อเช้า คงเหลือมื้อเย็น อัตราอาหาร ประมาณมื้อละ 5 เม็ด/ตัว) ฝึกให้ปลากินผักโดยการ ทำให้ผักบริเวณที่จมน้ำ มีร่องรอยของการฉีกขาด

เปลี่ยนอาหารจากปลาเล็กเป็นปลารุ่นในช่วงปลาอายุประมาณ 1 เดือนครึ่ง ทำการเปลี่ยนถ่ายน้ำ ทุก 7-10 วัน ทุกครั้งที่เปลี่ยนน้ำ ใช้น้ำหมักชีวภาพ ผสมน้ำใส่ในบ่อทุกครั้ง และเพิ่มปริมาณน้ำให้เหมาะสมกับขนาดและปริมาณของปลา น้ำที่ถ่ายออกนำไปใช้กับแปลงพืชได้เป็นอย่างดี เลี้ยงประมาณ 3 - 31/2 เดือน ปลาจะมีขนาด 4-5 ตัว/ กก. ต้นทุนการผลิต ประมาณ 19-21 บาท/กก. คุณภาพเนื้อ มีไขมันน้อย มีกล้ามเนื้อแทรก

สภาพการกัดกินของปลาดุก สภาพภายในบ่อ สภาพการกัดกินของปลาดุก

เปรียบเทียบอาหารปลา ไม่แช่น้ำ แช่น้ำ

ต้นทุนการผลิต/บ่อ ค่าพันธุ์ปลา 75 ตัว ๆละ 0.75 บาท เงิน 56 บาท ค่าพันธุ์ปลา 75 ตัว ๆละ 0.75 บาท เงิน 56 บาท ค่าอาหาร 15 กก. ๆละ 27 บาท เงิน 405 บาท รวมต้นทุน เงิน 461 บาท ผลผลิตที่ได้ บ่อละ 18 กก. ( 4-5 ตัว/กก./3 เดือน) ราคาจำหน่าย กก.ละ 40 บาท เงิน 720 บาท ส่วนต่าง เงิน 259 บาท