การพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
การดำเนินการ รพ.สต. เขตตรวจราชการ ที่ 12
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ประวุฒิ พุทธขิน งานพัฒนาบุคลากรฯ สสจ.อำนาจเจริญ เรียบเรียงจาก สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข ผลการประชุมกลุ่ม สาธารณสุขเขต 13 (1 มิ.ย.52 จ.อุดรฯ)

นโยบายรัฐบาล นายกอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ข้อ 3.3.3 ปรับปรุงบริการด้านสาธารณสุข......... ยกระดับสถานีอนามัยเป็น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล

ที่มา ปัญหา + นโยบาย + คณะทำงาน ชื่อ “รพ. ส่งเสริมสุขภาพตำบล” (รพ. สต.) ขอบเขตการให้บริการ เน้น ส่งเสริม + ป้องกัน ระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน รักษา + ส่งต่อ มีคุณภาพมากขึ้น เชื่อมต่อแม่ข่าย การมีส่วนร่วมของท้องถิ่น และชุมชน กรรมการบริหาร รพ. สต.

5. เป้าหมาย ปี 52: อำเภอละ 1 แห่ง: ทั้งประเทศ 1,000 แห่ง ปี 53: เพิ่มอีก 1,000 แห่ง 6. การสนับสนุนจากส่วนกลาง ปี 52: งบ สปสช. 2 แสน/แห่ง (x 1,000) ปี 53: งบ SP2 1.35 ล้าน/แห่ง (x 2,000) งบ สปสช. 2 แสน/แห่ง (x 2,000) 7. มีการประเมิน เมื่อสิ้นกันยายน โดยเขต + ส่วนกลาง

นิยามโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิที่มีพื้นที่รับผิดชอบในระดับตำบล เน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระัดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน พร้อมกับมีความสามารถในการให้บริการรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพเพิ่มขึ้น โดยเป็นเครือข่ายกับโรงพยาบาลชุมชน หรือ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป และสามารถส่งต่อผู้ป่วยได้ตลอด 24 ชั่วโมง 5

ลักษณะที่สำคัญ มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยมีพื้นที่รับผิดชอบ (catchment area) ในระดับตำบล และมีเครือข่ายร่วมกับสถานีอนามัย และ หน่วยบริการสุขภาพอื่น ในตำบลข้างเคียง เน้นการให้บริการแบบเชิงรุก ที่มีความยืดหยุ่นและสอดคล้องกับบริบทความพร้อม/ ศักยภาพของชุมชน บุคลากรที่มีความรู้และทักษะแบบสหสาขาวิชา (skill mix) ทำงานเป็น team work มีการให้บริการสุขภาพที่มีความเชื่อมโยงกับบริการสุขภาพในระดับอื่นที่สูงกว่าโดยสามารถส่งต่อผู้ป่วยได้ตลอด 24 ชั่วโมง มีการปฏิรูปการบริหารจัดการ (3/4 ประสาน)โดยเน้นการมีส่วนร่วมของ ประชาชน อปท. ภาคราชการ เอกชน และทุกภาคส่วน 6

ขอบเขตการให้บริการ ให้บริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและรักษาพยาบาลกับประชากร บุคคล ครอบครัว ชุมชน รวมถึงเรื่องสิ่งแวดล้อม 7

ขนาด โรงพยาบาลตำบลขนาดเล็ก – ประชากรไม่เกิน 3000 คน ควรมีเจ้าหน้าที่ประมาณ 5 คน โรงพยาบาลตำบลขนาดกลาง – ประชากรไม่เกิน 6,000 คน ควรมีเจ้าหน้าที่ประมาณ 7 คน โรงพยาบาลตำบลขนาดใหญ่ – ประชากรมากกว่า 6,000 คน ควรมีเจ้าหน้าที่ประมาณ 9-10 คน 8

เป้าหมายและระยะเวลา ระยะ จำนวนโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล ช่วงเวลา Phase 1 – ระยะเริ่มต้นและนำร่อง 1,000 แห่งในอำเภอที่มีความ พร้อมของ CUP และอำเภอที่ เหลือทั่วประเทศ กันยายน 2552 Phase 2 – ระยะขยายผล เพิ่มเติมอีก 1000 แห่ง กันยายน 2553 Phase 3 – ขยายครอบคลุมทั่วประเทศ ในตำบลที่เหลือทั้งหมด ตุลาคม2554 –กันยายน2562 Phase 4 – ติดตามประเมินผลและสนับสนุนการพัฒนา ตุลาคม 2553 – กันยายน 2562

แนวคิดการดำเนินงานโครงการ ส่งเสริมศักยภาพเครือข่าย สนับสนุนกลไกการบริการจัดการ วิจัยเพื่อการพัฒนา สร้างภาพลักษณ์และปรับกระบวนทัศน์ ระบบบริหารจัดการโครงการ ติดตามประเมินผล 10

แนวทางปฏิบัติ รพ.สต. โครงสร้างพื้นฐานที่ควรปรับปรุง ขอบเขตบริการ บุคลากร การเงินการคลัง การบริหารจัดการ/ส่วนร่วม ระบบสนับสนุน

1.โครงสร้างพื้นฐานที่ควรปรับปรุง อาคารตรวจรักษา เตียงเฝ้าสังเกตอาการ ระบบการสื่อสารกับรพ.แม่ข่าย (Appropriate IT) ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ตามมาตรฐาน พาหนะเยี่ยมบ้าน, ส่งต่อ

2.ขอบเขตบริการ รักษาพยาบาลที่มีคุณภาพ ให้คำปรึกษา ส่งต่อ รวดเร็ว ครบวงจร คัดกรองผู้ป่วยเรื้อรัง เยี่ยมบ้าน ดูแลผู้ป่วย เพิ่มศักยภาพบุคคลในครอบครัว เครือข่าย อสม. ตรวจ กระตุ้นพัฒนาการ ในเด็ก วัคซีน ผู้สูงอายุ

2.ขอบเขตบริการ (ต่อ) หญิงวัยเจริญพันธุ์ ได้รับ ธาตุเหล็ก+โฟลิค กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ การออกกำลังกาย บุคคลและชุมชน ชมรมผู้สูงอายุ ชมรมอาหารปลอดภัย คนไทยไร้พุง

3.บุคลากร ปรับย้ายกำลังคน (โยกย้ายภายใน/ชดเชยกำลังคน) สรรหาบุคลากรใหม่ ตำแหน่งข้าราชการ ระบบจ้างงานใหม่ (ระเบียบใหม่,สิทธิประโยชน์,สัญญาจ้าง) เพิ่มศักยภาพของบุคลากร (อบรม,ศึกษาต่อ,ผลิตใหม่) ผลิตเพิ่ม (ทำแผนระยะกลาง) อสม./ลูกจ้าง

4.การเงินการคลัง งบ Stimulus Package 2 ตั้งแต่ปี 53 งบลงทุนของเขต/จังหวัด งบดำเนินงาน 200,000 ต่อแห่ง (1,000 แห่ง) งบเพิ่มเติมจาก CUP/สสจ. งบ PP area base ที่อยู่ในระดับเขตและจังหวัด กองทุนสร้างเสริมสุขภาพตำบล งบ อปท. อื่นๆ

4.การเงินการคลัง งบ Stimulus Package 2 ตั้งแต่ปี 53 (2,151) สิ่งก่อสร้าง 500,000 บาท ครุภัณฑ์ 855,000 บาท รถพยาบาล (รพ. 829) รถกระบะ สอน. (63)

5.บริหารจัดการ/การมีส่วนร่วม คณะกรรมการบริการ รพสต.(3/4 ประสาน) กระบวนการประชาคมในการแก้ปัญหาสุขภาพของพื้นที่

6. ระบบสนับสนุนที่ต้องการ ระบบข้อมูลสุขภาพ (health information system) ระบบการปรึกษาทางไกล (Real time consultation) ระบบการส่งต่อ (Referral System) การแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาที่มีคุณภาพเช่นเดียวกับโรงพยาบาลแม่ข่าย การสนับสนุนและการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนและ อปท. 19

มาตรฐานขั้นต่ำของ รพสต. บริหารงานโดยคณะกรรมการ ข้อมูลครอบครัว (Family Folder) ระบบการรักษาพยาบาลที่มีการปรึกษากับแม่ข่าย ระบบส่งต่อ เครือข่าย ฯลฯ ???

ประชาชนได้อะไร ความครอบคลุม (coverage) ของบริการขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น การให้วัคซีน การฝากครรภ์ ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน อื่นๆ คุณภาพชีวิต (Quality of life) ของประชาชนดีขึ้น อัตราทารกตาย และ แม่ตายลดลง การเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชนในระดับตำบลดีขึ้น ลดความแออัดของโรงพยาบาลแม่ข่ายลง จำนวนผู้ป่วย ข้ามจากตำบลมาโรงพยาบาลอำเภอ/จังหวัดลดลง การนอนโรงพยาบาลจากโรคแทรกซ้อนหรือโรคป้องกันได้ลดลง 21

ประชาชนได้อะไร มีการค้นพบผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่เพิ่มมากขึ้น ภาวะแทรกซ้อนโรคเรื้อรังลดลง ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมารับบริการจำนวนเพิ่มขึ้น (คน/ครั้ง) อัตราตายลดลง 22

รพ.ศูนย์ (ศูนย์ส่งต่อ) คิดการส่งต่อเชื่อมโยงถึง Primary Care ศูนย์ประสานการส่งต่อเขต จนท. ประจำ 24 ชั่วโมง สนับสนุน/ที่ปรึกษาวิชาการ ปรับข้อมูล คน+ของเป็นปัจจุบัน ประสานการใช้ทรัพยากรร่วมกัน เป็นทีมวิชาการให้ คกก. ระบบส่งต่อผู้ป่วย รพ.ศูนย์ (นอก จว.) รพ.ศูนย์ (ศูนย์ส่งต่อ) รพ.ทั่วไป (นอก จว.) รพ.ทั่วไป ส่งต่อ รสต. รพ.ชุมชน คิดการส่งต่อเชื่อมโยงถึง Primary Care สอ. รสต. สอ. จัดระบบนัดหมายเพื่อส่งต่อ รพ. แม่ข่าย/ อปท. ดูแล การรับผู้ป่วย สอ. รสต.

เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13 การพัฒนาระบบบริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13

1. เป้าหมาย อำเภอละ 1 แห่ง และเพิ่มเติม ตามจำนวนตำบล (10 ตำบล ต่อ 1 แห่ง ) จ.อำนาจเจริญ ปี 2552 เสนอชื่อ สอ. 8 แห่ง 1.สอ.น้ำปลีก อ.เมือง 2.สอ.หนองยอ อ.หัวตะพาน 3.สอ.ดงบัง อ.ลืออำนาจ 4.สอ.จานลาน อ.พนา 5.สอ.ลือ อ.ปทุมราชวงศา 6.สอ.โคกเจริญ อ.ชานุมาน 7.สอ.หนองไฮ อ.เสนางคนิคม 8.สอน.ปลาค้าว อ.เมือง ( เสนอเพิ่มเติม)

พยาบาล จำนวนบุคลากร สายวิชาชีพ 1: ปชก. 1,250 นักวิชาการ ทันตาภิบาล จพ.สาธารณสุข บุคลากร สาย Back Office ตามความเหมาะสม

2.ขอบเขตการให้บริการ เพิ่มศักยภาพด้านการรักษา เน้นประสิทธิภาพด้านการส่งเสริม ป้องกัน เพิ่มศักยภาพด้านการรักษา

2.1 ด้านการรักษา - VIDEO conference พยาบาลเวชปฏิบัติอย่างน้อย 1 คน แพทย์ออกสนับสนุน เดือนละ1 ครั้ง ระบบให้คำปรึกษา เช่น - VIDEO conference โทรศัพท์ วิทยุ ตามความเหมาะสม กรณี internetใช้ไม่ได้ พยาบาลเวชปฏิบัติอย่างน้อย 1 คน

2.2 ด้านการส่งเสริม ป้องกันโรค ภารกิจปัจจุบันพวกเราทำได้ดีแล้ว การบริการแบบองค์รวมในอนาคต (คนไข้ทุกคนที่ admit ได้รับการเยี่ยม)

2.2 ด้านการส่งเสริม ป้องกันโรค ภารกิจปัจจุบันพวกเราทำได้ดีแล้ว การบริการแบบองค์รวมในอนาคต (คนไข้ทุกคนที่ admit ได้รับการเยี่ยม)

3 แผนการบริหารจัดการกำลังคน พยาบาลเวชปฏิบัติ ส่งคนที่อาสาไปปฏิบัติงานที่ รพ.สต.ไปอบรม ปรับเกลี่ย อัตรากำลังภายใน CUP หรือ จังหวัด การวางแผนในอนาคต ส่งคนในพื้นที่ไปเรียน เพื่อจะรักถิ่นฐานตนเอง พัฒนาศักยภาพ จนท. สอ.เดิมไปเรียนต่อ ประสาน อปท. ร่วมสนับสนุน การส่งคนไปเรียนต่อ

4 แผนการบริหารจัดการการเงิน กองทุน รพ.สต. (2 บาท) ต้องมี เพื่อแสดงความเป็นเจ้าของ รพ.สต. เพื่อให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการบริหาร กองทุน อื่นๆ จากระบบ งปม.ปัจจุบัน เงิน OP PP ส่งตรงถึง รพ.สต. ทุกบาท เงิน กองทุน ของ CUP ไม่ใช่เงินของ รพ. (ต้องบริหารในภาพรวมของคณะกรรมการ)

5 แผนความร่วมมือของประชาชน ต้องมีการประชาคม ทุก รพ.สต. บางแห่ง ร่วม ลงขัน ยิ่งดี (มีแต้มเพิ่ม เช่น รัฐอุดหนุน) แม้จะไม่ลงขัน ก็ร่วมในกระบวนการบริหาร ใน รพ.สต. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องประสานขอความร่วมมือทุกแห่ง ให้มีส่วนร่วมในคณะกรรมการพัฒนา รพ.สต.

6 บทบาทของ องค์กรต่างๆ สสจ. สสอ. รพศ. รพท. รพช. สอ. ระดับเขต (นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ) กำหนด นโยบาย จะสนับสนุน รพ.สต.เต็มที่ สสจ. สสอ. รพศ. รพท. รพช. พร้อม สนับสนุน รพ.สต.อย่างเต็มที่ สอ. พร้อม ปฏิบัติตาม แนวทางการพัฒนา รพ.สต. อย่างเต็มที่

จบการนำเสนอ