การบรรจุภัณฑ์เพื่อการส่งออก บทที่ 7 การบรรจุภัณฑ์เพื่อการส่งออก ความเสียหายที่เกิดขึ้นในระบบการขนส่ง มีชื่อเรียกเฉพาะว่า “Distribution Hazards” โดยมีสาเหตุหลักของความเสียหาย 5 ประการคือ การกดทับ ความสั่นสะเทือน การตกกระแทก สภาพอากาศ สิ่งมีชีวิต
ความเสียหายที่เกิดขึ้นสามารถป้องกันหรือผ่อนหนักให้เป็นเบาได้ โดยการ บรรจุหีบห่อที่เหมาะสม เช่น ใช้ภาชนะบรรจุที่แข็งแรงสามารถรับแรงกดเมื่อเรียงซ้อนกัน ใช้แผ่นกั้น แผ่นรอง โฟม พลาสติกอัดอากาศ เป็นวัสดุภายใน ออกแบบภาชนะบรรจุให้มีขนาดและรูปทรงที่สอดคล้อง กับวิธีการลำเลียง การใช้สารดูดความชื้นใส่ไปกับสินค้าในภาชนะบรรจุเพื่อ ดูดความชื้นรอบ ๆ สินค้า ฯลฯ การขนส่งที่รวดเร็วจะช่วยประหยัด ลดต้นทุน โดยใช้ ตู้คอนเทนเนอร์ ระบบการขนถ่ายหน่วยใหญ่ (Unit Load System) 3. แท่นรองรับสินค้า (Pallet) 4. แผ่นรองรับ (Slip Sheet) 5. สายรัด (Strapping)
6. การสื่อสารบนบรรจุภัณฑ์ขนส่ง 7. การออกแบบกราฟิกและภาพพิมพ์ บัญญัติ 10 ประการของการออกแบบ พัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อการส่งออก 6. การสื่อสารบนบรรจุภัณฑ์ขนส่ง 7. การออกแบบกราฟิกและภาพพิมพ์ บนบรรจุภัณฑ์บริโภค 8. สภาวะของคลังสินค้าและการเก็บ รักษาระหว่างการขนส่ง 9. กฎข้อบังคับและวิธีการลำเลียง สินค้า ณ ประเทศปลายทาง 10. การประเมินค่าใช้จ่ายของ บรรจุภัณฑ์และติดตามความ เสียหายที่เกิด 1. การพัฒนาสินค้า 2. การเลือกใช้วัสดุบรรจุภัณฑ์ 3. การจัดการวัสดุบรรจุภัณฑ์ 4. การใช้บรรจุภัณฑ์ขนส่งเป็น หน่วยรวมหรือการใช้ คอนเทนเนอร์ 5. การออกแบบโครงสร้างของ บรรจุภัณฑ์
กฎระเบียบข้อบังคับของสินค้าส่งออก เพื่อมิให้เกิดปัญหาผู้ส่งออกอาจติดต่อ สอบถามได้จากหน่วยงานดังนี้ กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ สถานเอกอัครราชทูตของประเทศต่าง ๆ ในกรณีที่ยังไม่มีข้อมูลจากหน่วยราชการในประเทศ ผู้ซื้อหรือผู้แทนจำหน่าย โดยมีการส่ง ตัวอย่างหีบห่อ ข้อมูล ป้ายฉลากและรายละเอียด โดยขอให้มีหนังสือยืนยันจากบริษัทตัวแทนจำหน่าย รับรองด้วย วัสดุที่ใช้หีบห่อ ชนิดของสินค้า วิธีการบรรจุ การทำเครื่องหมายและป้าย การใช้คอนเทนเนอร์ ข้อกำหนดเกี่ยวกับเครื่องหมายของสินค้า ข้อกำหนดเกี่ยวกับป้าย (ฉลาก)
ใบงาน บทที่ 7 ให้ค้นคว้าหาข้อมูล รายละเอียดเกี่ยวกับ เครื่องหมายของ บรรจุภัณฑ์ในการขนส่งทางเรือ