จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
Advertisements

พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
เนื้อหา โครงสร้างส่วนประกอบของเซลล์ประสาท ชนิดและหน้าที่ของเซลล์ประสาท
ความหลากหลายของสัตว์
สื่อประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
สื่อประกอบการเรียนรู้
สื่อประกอบการเรียนรู้
ของส่วนประกอบของเซลล์
เว็บไซต์ สาขา สารสนเทศศาสตร์
Group Acraniata (Protochordata)
อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia)
Basic principle in neuroanatomy
การรักษาสมดุลร่างกาย Homeostasis
Electromyography (EMG) and Skeletal muscle contraction
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
ระบบประสาท (Nervous System)
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
เฉลย หากสามารถค้นหาได้ภายในเวลา ๒๕ วินาทีนั่นแสดงว่า หากสามารถหาได้ในเวลา ๑ นาทีแสดงว่าสมองของนักเรียนพัฒนาตามปกติ
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
ABC DEFG สาขาสัตว์ศาสตร์
สมองและพฤติกรรม Brain and Behavior
การดูแลผู้ป่วยโรคปวดหลังส่วนล่าง
การจัดระบบในร่างกาย.
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
ลักษณะภายนอกของแมลง (General Structures of Insects)
โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
หัวใจ Heart นางสาวพัชฎา บุตรยะถาวร ครูผู้สอน
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
Class Monoplacophora.
Class Polyplacophora.
บทปฏิบัติการที่ 17 ระบบประสาท (Nervous System)
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
บทที่ 8 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
ระบบประสาทและ การแสดงพฤติกรรม.
ชีววิทยา นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
ระบบประสาทและการแสดงพฤติกรรม (Nervous system and Animal Behavior)
ปัจจัยพื้นฐาน ของพฤติกรรมมนุษย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ 56070383 คณะสาธารณสุขศาสตร์ NERVOUS SYSTEM จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ 56070383 คณะสาธารณสุขศาสตร์

โครงสร้าง NERVOUS SYSTEM

โครงสร้าง NERVOUS SYSTEM

ส่วนประกอบของเนื้อเยื่อประสาท

ส่วนประกอบของเนื้อเยื่อประสาท ตัวเซลล์ (Cell body) หน้าที่เกี่ยวกับการเจริญเติบโตและเมแทบอลิซึมของ เซลล์ประสาท (เป็นแหล่งสร้างพลังงาน สังเคราะห์ โปรตีนที่เป็นสารสื่อประสาท ใยประสาท (Nerve fibre) - เดนไดรต์ (dendrite) เป็นส่วนของเซลล์ประสาทที่ยื่น ออกไป ส่วนใหญ่จะอยู่รอบๆตัวเซลล์ ทำหน้าที่รับ กระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์ เซลล์ประสาทหนึ่งตัวจะ มีเดนไดรต์ (dendrite) ได้หลายแขนง  - แอกซอน(axon) ส่วนของใยประสาทที่ทำหน้าที่ นำกระแสประสาทออกจากบริเวณเดนไดรต์ ไปสู่ เซลล์อื่นๆเซลล์ประสาทตัว หนึ่งจะมีแอกซอนเพียงหนึ่งแอกซอนเท่านั้น

ส่วนประกอบของเนื้อเยื่อประสาท

ระบบประสาทส่วนกลาง : ระบบประสาทส่วนกลาง (The Central Nervous System หรือ Somatic Nervous System) เป็นศูนย์กลางควบคุมการทำงานของร่างกาย ทำงานพร้อมกันทั้งในด้านกลไกและทางเคมี ภายใต้อำนาจจิตใจ ประกอบด้วยสมองและไขสันหลังโดย เส้นประสาทหลายล้านเส้นจากทั่วร่างกายจะส่ง ข้อมูลในรูปกระแสประสาทออกจากบริเวณ ศูนย์กลางมีอวัยวะที่เกี่ยวข้องดังนี้

ระบบประสาทส่วนกลาง : 1 .สมอง(Brain) เป็นส่วนที่ใหญ่กว่าส่วนอื่นๆของระบบประสาท ส่วนกลางทำหน้าที่ควบคุมการทำกิจกรรมทั้งหมดของ ร่างกายเป็นอวัยวะชนิดเดียวที่แสดงความสามารถด้าน สติปัญญา การทำกิจกรรมหรือการแสดงออกต่างๆ สมองของสัตว์มีกระดูกสันหลังที่สำคัญแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้

สมอง(Brain) เซรีบรัมเฮมิสเฟียร์ (Cerebrum Hemisphrer) คือ สมอง ส่วนหน้า ทำหน้าที่ควบคุมพฤติกรรรมที่ซับซ้อนเกี่ยวกับ ความรู้สึกและอารมณ์ควบคุมความคิด ความจำ และ ความเฉลียวฉลาด เชื่อมโยงความรู้สึกต่างๆเช่น การได้ ยิน การมองเห็น การรับกลิ่น การรับรส การรับสัมผัส เป็นต้น เมดัลลาออบลองกาตา (Medulla Oblongata) คือ ส่วน ที่อยู่ติดกับไขสันหลัง ควบคุมการทำงานของระบบ ประสาทอัตโนมัติ เช่น การหายใจการเต้นของหัวใจ การ ไอ การจาม การกะพริบตา ความดันเลือด เป็นต้น เซรีเบลลัม (Cerebellum) คือ สมองส่วนท้าย เป็นส่วนที่ ควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและการทรงตัวช่วยให้ เคลื่อนไหวได้อย่างแม่นยำเช่น การเดิน การวิ่ง การขี่ รถจักรยาน เป็นต้น

ไขสันหลัง (Spinal Cord) เป็นเนื้อเยื่อประสาทที่ทอดยาวจากสมองไปภายใน โพรงกระดูกสันหลัง กระแสประสาทจากส่วนต่างๆ ของร่างกายจะผ่านไขสันหลัง มีทั้งกระแสประสาท เข้าและกระแสประสาทออกจากสมองและกระแส ประสาทที่ติดต่อกับไขสันหลังโดยตรง

ไขสันหลัง (Spinal Cord)

ไขสันหลัง (Spinal Cord) 1. เนื้อสีเทา (gray matter) อยู่ทางด้านใน มีลักษณะเป็นรูปผีเสื้อเป็นที่อยู่ของเซลล์ ประสาทและ ใยประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม ส่วนตรงกลาง ของไขสันหลัง บริเวณเนื้อสีเทาจะมีช่องในไขสันหลัง เรียกว่า ช่องกลวงตรงกลางไขสันหลัง (central canal) เป็นที่อยู่ของ น้ำเลี้ยงสมองและไขสันหลัง (cerebo- spinal fluid) ส่วนของไขสันหลังสีเทาที่ยื่นไปข้างหลัง เรียกว่า ปีกบน (posterior gray horn) จะมีแอกซอนของเซลล์ประสาท พวกรับความรู้สึกจากอวัยวะรับสัมผัสต่าง ๆ เข้าสู่ปีกบน ทางรากบน (dorsal root) ของเส้นประสาทไขสันหลัง ส่วนไขสันหลังสีเทาที่ยื่นออกมาข้างหน้าเรียกว่าปีกล่าง (anterior gray horn vetral gray horn) เป็นที่อยู่ของ เซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron ) นำกระแสประสาท ออกทางรากล่าง (ventral root) ของเส้นประสาทไขสัน หลัง

ไขสันหลัง (Spinal Cord) 2. เนื้อสีขาว (white matter ) เป็นส่วนที่อยู่ด้านนอก เป็นพวกใยประสาทที่มีเยื่อ ไมอีลินหุ้มอยู่หนาแน่น จึงมีสีขาว ทำหน้าที่เป็นทางผ่านของกระแสประสาทระหว่าง ไขสันสันหลังกับสมอง กลุ่มเส้นประสาทแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ 1. กลุ่มเส้นประสาทนำกระแสประสาทเข้าสู่ สมอง (ascending tract ) 2. กลุ่มเส้นประสาทสั่งการจากสมองผ่านไขสัน หลังไปยังอวัยวะตอบสนองต่าง ๆ (descending tract )

เส้นประสาทที่แยกออกจากไขสัน หลังมีทั้งหมด 31 คู่ เป็น เส้นประสาทประสม(mixed never) แบ่งออกเป็นทั้งหมด 5 บริเวณ ดังนี้ เส้นประสาทบริเวณคอ (cervical never) 8 คู่ เส้นประสาทบริเวณอก (thoracal never) 12 คู่ เส้นประสาทบริเวณเอว (lumbar never) 5 คู่ เส้นประสาทบริเวณกระเบนเหน็บ (sacral never) 5 คู่ เส้นประสาทบริเวณก้นกบ (coccygeal never) 1 คู่