ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
แผนงาน/โครงการที่สำคัญของกรมส่งเสริมสหกรณ์
หลักการและเหตุผล แผนกลยุทธ์และแผนงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธ์ศาสตร์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ปี เป็นแผนที่จัดทำขึ้นจากการมีส่วนร่วมของคณะทำงานซึ่งเป็นผู้แทนของหน่วยงานในสังกัดกรมฯทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค.
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
เป็นที่ไว้วางใจของผู้ บริโภค
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
งบประม าณ เงินทุน หมุนเวียนฯ งบบุคลากร ล้านบาท งบดำเนินงาน ล้านบาท ล้านบาท งบบุคลากร 4. 8 ล้านบาท งบดำเนินงาน 619 ล้านบาท
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
การสนับสนุน ทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
Strategy Map สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ ร้อยละหรือระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานโครงการปี
กลุ่มที่ 1.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 1 ดอกแก้วภูพาน จ. สกลนคร จ. สุรินทร์ จ. หนองคาย จ. หนองบัวลำภู จ. อุดรธานี
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร (ศวพก)
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรเข้าสู่ระบบรับรองมาตรฐาน GAP
โครงการพัฒนาระบบการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
การดำเนินงานการบริหารศัตรูพืช
เท่าเดิม ลดลง เพิ่มขึ้น เท่าเดิม ลดลง การเพิ่ม-ลดของสมาชิกกลุ่ม
การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่มที่ 4 กลุ่มเฟื่องฟ้า
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกาแฟ
โครงการ ฝึกอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน ปี 51
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
ภาพรวมงานวิจัยหน่วยงาน
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
งานวิจัยและวิเทศสัมพันธ์
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
(กิจกรรมการเลี้ยงโคเนื้อ)
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ปณิธาน เป็นศูนย์กลางการค้นคว้าทดลอง ส่งเสริม และ เผยแพร่วิชาการ และเทคโนโลยีการผลิตลำไย ตลอดจนเป็นแหล่งบริการให้คำปรึกษาแก่เกษตรกร ผู้ประกอบการ นักวิชาการ และนักศึกษา

พันธกิจ 1. การฝึกอบรมและบริการวิชาการ 2. การวิจัย 3. การพึ่งพาตนเอง การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและการแปรรูปลำไย จากข้อมูลงานวิจัย 2. การวิจัย สนับสนุนการวิจัยในพื้นที่ของศูนย์และแสวงหาแหล่งทุนวิจัย 3. การพึ่งพาตนเอง การบริหารจัดการแผนการผลิตและจัดทำแปลงสาธิต

งบประมาณดำเนินการวิจัย (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปี 2543-2546 (12) (9) (8) (8)

งานวิจัยที่ได้ดำเนินการ ระหว่างปีงบประมาณ 2547 งบประมาณวิจัยและพัฒนาการเกษตร (ลำไย) ของจังหวัดลำพูน ประจำปีงบประมาณ 2547

โครงการผลิตลำไยอินทรีย์ โครงการจัดตั้งศูนย์บริการวิเคราะห์ตัวอย่างดิน รวมงบประมาณทั้งสิ้น 1,500,000 บาท

งบโครงการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศ ด้านการผลิตและส่งออกลำไย ปี 2548 รวมงบประมาณทั้งสิ้น 10,000,000 บาท

โครงการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศ ด้านการผลิตและส่งออกลำไย ปีงบประมาณ 2548 1. ฐานข้อมูลเขตการผลิตลำไยที่มีคุณภาพสูงในภาคเหนือ ในพื้นที่จังหวัดลำพูนและจังหวัดเชียงใหม่ 2. นโยบายผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของการจัดการ ระบบการผลิต ความเป็นไปได้ของการขยายผลของระบบ 3. แนวทางการนำลำไยเข้าสู่ระบบการค้าในตลาดล่วงหน้า

4. ระบบการยืดอายุของการเก็บรักษาลำไย 5. เทคโนโลยีการแปรรูปและผลิตภัณฑ์ใหม่ 6. ต้นแบบการอบลำไยแบบใช้ปั๊มความร้อน 7. ต้นแบบการอบลำไยแบบใช้เตาไมโครเวฟ 8. บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมและมีศักยภาพในเชิงการตลาด

9. เพิ่มจำนวนวิทยานิพนธ์และผลงานวิจัยตีพิมพ์ 10. เกษตรกรร่วมโครงการการผลิตลำไยที่ดี 11. เพิ่มบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเทคโนโลยีการผลิตและ การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์ 12. เกษตรกรผลิตลำไยปลอดสารภายใต้ระบบการผลิต ที่ลดต้นทุนและได้ลำไยที่มีคุณภาพได้ผลอย่างเป็นรูปธรรม

จำแนกเงินวิจัยปีงบประมาณ 2548 ตามหน่วยงานที่ได้รับงบประมาณ

จำแนกงานวิจัยลำไยปี 2548 ตามหัวข้องานวิจัย

งบโครงการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศ ด้านการผลิตและส่งออกลำไย ปี 2549 รวมงบประมาณทั้งสิ้น 20,000,000 บาท

จำแนกเงินวิจัยปีงบประมาณ 2549 ตามหน่วยงานที่ได้รับงบประมาณ

จำแนกงานวิจัยลำไยปี 2549 ตามหัวข้องานวิจัย

แผนงานวิจัยที่คาดว่าจะดำเนินการ ระหว่างปีงบประมาณ 2548-2551 ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การเก็บรักษาหลังการเก็บเกี่ยว เทคโนโลยีการผลิต การเก็บรักษาหลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูปผลิตภัณฑ์ การตลาด การรวมกลุ่มเกษตรกร

การลดต้นทุนการผลิตลำไยในเชิงอุตสาหกรรม การวิจัยเกี่ยวกับแนวทางการผลิตลำไยอย่างเหมาะสม และปลอดภัยจากสารตกค้าง การลดต้นทุนการผลิตลำไยในเชิงอุตสาหกรรม การใช้ประโยชน์ที่ดินในการผลิตลำไยที่มีผลต่อความอุดมสมบูรณ์และสภาพแวดล้อม

การวิจัยเพื่อรวบรวมพันธุ์ลำไยที่ดีเยี่ยม และ พื้นบ้าน การศึกษาและพัฒนาลำไยพันธุ์ใหม่ที่เหมาะสม ในเชิงอุตสาหกรรม การวิจัยเพื่อรวบรวมพันธุ์ลำไยที่ดีเยี่ยม และ พื้นบ้าน เทคโนโลยีการควบคุมผลผลิตจากแปลงปลูกที่มีคุณภาพตามความต้องการของตลาดผลสดและแปรรูป การผลิตลำไยเป็นพืชประธานตามแนวเกษตรทฤษฎีใหม่

การผลิตกล้าพันธุ์ลำไยโดยวิธีเสียบยอด การจัดทรงพุ่มลำไยเพื่อการผลิตในเชิงอุตสาหกรรม ผลของการปฎิบัติดูแลรักษาต้นลำไยต่อคุณภาพและผลผลิตลำไย การรักษาคุณภาพและยืดอายุผลผลิตลำไยสดหลังการเก็บเกี่ยว

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องจากการผลิตลำไย การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากลำไยไปใช้ประโยชน์ในด้านเสริมสุขภาพ การพัฒนารูปแบบกรรมวิธีการแปรรูปลำไย ปัจจัยที่มีผลต่อการรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อความแข็งแกร่งด้านการตลาดผลิตผลลำไย การวิจัยพัฒนามะม่วงเขียวมรกต

ขอขอบคุณทุกท่านที่สละเวลาเข้าร่วมสัมมนา ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่