บทที่ 1 บทนำ โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
Advertisements

การคลังและนโยบาย การคลัง
บทที่ 2 หลักการควบคุมภายใน
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
การบูรณาการของนโยบายการคลัง ( )
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
ขอบข่ายของการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
ทำวิจัยนโยบายอย่างไรให้ได้ประโยชน์
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
“การบริหารรายได้รายจ่ายของรัฐบาล”
บทที่ 8 นโยบายการคลัง(Fiscal Policy)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
การกระจายอำนาจทางการคลังแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นโยบายการคลัง.
การกระจายอำนาจทางการคลังแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การงบประมาณ (Budget).
รายรับและรายจ่ายของรัฐ
เงินรายได้แผ่นดิน.
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
น.ส.เสาวลักษณ์ วิจิตรโสภา
BUSINESS TAXATION ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
การบริหารงานการเงินของสถานศึกษา
บทที่ 1 ความหมายและแนวทางของนโยบายสาธารณะ
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โครงสร้างรายรับ - รายจ่าย
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
จิตรา ณีศะนันท์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
การตรวจสอบ และการควบคุมภายใน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การคลัง ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
แนวทางการวิเคราะห์สำหรับภาษีอากร
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
การจ่ายค่าตอบแทนให้กับพนักงานขาย
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
การสร้างวินัยทางการเงินการคลัง 24 กุมภาพันธ์ 2557
Assessment and Evaluation System
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
บทที่ 1 หลักการและโครงสร้างของภาษีอากร
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การคลัง ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม.
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 บทนำ โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว สายวิชาเศรษฐศาสตร์ วิทยาเขตหนองคาย มหาวิทยาลัยขอนแก่น

หัวข้อ 1.1 ความหมายและขอบเขตของการคลังสาธารณะ 1.2 ความเป็นมาของการคลังสาธารณะ 1.3 ความสำคัญของการคลังสาธารณะ 1.4 ความสัมพันธ์ระหว่างวิชาการคลังสาธารณะกับวิชาอื่นๆ 1.5 แนวทางการศึกษาของวิชาการคลังสาธารณะ

1.1 ความหมายและขอบเขตของการคลังสาธารณะ 1) ความหมายของการคลังสาธารณะ - การคลังสาธารณะ(Public Finance) หมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับข้อเท็จจริง ทฤษฎี วิธีการ และผลกระทบกระเทือนจากการจัดการงบประมาณแผ่นดิน ทั้งด้านรายรับและรายจ่ายของรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่น โดยรวมไปถึงการบริหารหนี้สาธารณะและการคลังรัฐวิสาหกิจ

1.2 ความเป็นมาของการคลังสาธารณะ 1.2 ความเป็นมาของการคลังสาธารณะ ระยะที่ 1 สมัยโบราณ -ในระบบ Barter Economic System -รายได้ไม่อยู่ในรูปตัวเงิน เช่น แรงงาน ทรัพย์สิน -รายได้ที่เป็นตัวเงิน เช่น ค่าปรับสงคราม เครื่องบรรณาการณ์ ค่าเช่าที่ดิน ค่าปรับค่าธรรมเนียม ระยะที่ 2 สมัยกลาง -แนวคิดพวก Kameralist รายได้แผ่นดินมาจาก ทรัพย์สินของรัฐ รายได้ของกษัตริย์ รายได้จากภาษีอากร และรายได้เบ็ดเตล็ด -Adam Smith รายได้รัฐบาลมาจาก ทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อื่นของรัฐ รายได้จากภาษีอากร

-บทบาทหน้าที่รัฐบาล 3 ประการ รักษาความสงบ ป้องกันประเทศ ให้ความยุติธรรม ระยะที่ 3 สมัยใหม่ -จากจตุสดมส์ 4 เวียง วัง คลัง นา -การเก็บภาษีอากรเป็นรายได้ เช่น อากรสุรา อากรบ่อนเบี้ย -การจัดทำระบบงบประมาณในรัชการที่ 5

1.3 ความสำคัญของการคลังสาธารณะ 1. ต่อรัฐบาล การมีความรู้ในวิชาการคลังช่วยในการดำเนินการมาตรการทางการคลังและนโยบายการคลังให้มีความถูกต้องและเกิดประโยชน์เต็มที่ต่อระบบเศรษฐกิจ ประชาชน ธุรกิจ และประเทศชาติ 2. ต่อผู้บริหารธุรกิจ การมีความรู้เรื่องภาษีอากร ผลกระทบของการดำเนินนโยบายทางการคลัง จะช่วยในการวางแผนทางธุรกิจให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3. ต่อผลประโยชน์ของรัฐบาลและประเทศชาติ การดำเนินการทางการคลังทั้งด้านรายได้ และรายจ่ายกระทบต่อระบบเศรษฐกิจและประชาชน การบริหารการคลังที่ดีจะช่วยรักษาผลประโยชน์ของประเทศชาติ

4. ต่อการจัดเก็บรายได้(จากภาษี) และการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ซึ่งมีผลต่อประชาชนและระบบเศรษฐกิจโดยทั่วไป ต้องดำเนินการให้เกิดประสิทธิภาพ มีการติดตามและประเมินผลการดำเนินการ 5. ต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ทั้งเสถียรภาพภายในประเทศ(เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน) และเสถียรภาพระหว่างประเทศ(ดุลการค้า ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลการชำระเงิน และอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ) 6. ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ทั้งการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การจ้างงาน และการกระจายรายได้หรือความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน

1.4 ความสัมพันธ์ระหว่างวิชาการคลังสาธารณะกับวิชาอื่นๆ 1.4 ความสัมพันธ์ระหว่างวิชาการคลังสาธารณะกับวิชาอื่นๆ -วิชาเศรษฐศาสตร์ ใช้วิเคราะห์การผลักภาระภาษีอากร ผลกระทบของภาษีอากรด้านต่างๆ ผลกระทบของการใช้จ่ายรัฐบาลและการก่อหนี้ -วิชาจิตวิทยา พยายามดำเนินนโยบายการคลังที่กระทบต่อประชาชนให้น้อยที่สุด ประชาชนมีความพอใจและได้รับประโยชน์สูงสุด -วิชารัฐศาสตร์ การทำความเข้าใจต่อรัฐสภาเพื่อให้เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี -วิชากฎหมาย สามารถร่างกฎหมายเพื่อออกบังคับใช้ได้อย่างถูกต้องและรัดกุม -วิชาสถิติ จัดเก็บข้อมูล การศึกษาผลกระทบของการใช้นโยบายการคลังของรัฐบาล แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจในอนาคต การวางแผนการใช้นโยบายการคลัง

1.5 แนวทางการศึกษาของวิชาการคลังสาธารณะ 1. วิธีวิเคราะห์แบบ Predictive Approach -เป็นการศึกษาข้อเท็จจริงของระบบเศรษฐกิจ โดยไม่มีการตัดสินหรือกำหนดนโยบาย ศึกษาสิ่งที่มีอยู่มากกว่าสิ่งที่ควรจะเป็น 2. วิธีวิเคราะห์แบบ Normative Approach -การศึกษาโดยการใช้ค่านิยมมาตัดสินว่าควรจะเป็นอย่างไร เช่น รัฐบาลควรใช้นโยบายการคลังอย่างไรเพื่อให้เกิดการกระจายรายได้ที่เป็นธรรมมากที่สุด 3. วิธีวิเคราะห์แบบ Research Approach -ใช้การวิจัยเข้าช่วย เมื่อพบปัญหา เริ่มค้นหาความจริง โดยมีกระบวนการและขั้นตอนในการวิจัยที่ชัดเจน