“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวอย่างที่ดีของโครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
แนวคิด ในการดำเนินงาน
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจัดการศึกษาในชุมชน
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
นายกิติศักดิ์ สินธุวนิช รองเลขาธิการฯ 30 มิถุนายน 2549
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
นโยบายด้านบริหาร.
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” การนำเสนอ เรื่อง “ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” โดย นายจักรมณฑ์ ผาสุกวนิช เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

กรอบการนำเสนอ ความสำคัญของทุนทางสังคม กรอบแนวคิดในการพัฒนา ทุนทางสังคม (ร่าง) ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุน ทางสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ความสำคัญของทุนทางสังคม ทรัพยากร ธรรมชาติ & สิ่งแวดล้อม ทุนทาง สังคม การพัฒนา ประเทศ ยั่งยืน เศรษฐกิจ

กรอบความคิดหลัก : ทุนทางสังคม ทุนมนุษย์ ทุน สถาบัน ภูมิปัญญา & วัฒนธรรม

(ร่าง) ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ การประเมิน สถานการณ์/ แนวโน้ม หลักการ สำคัญ วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ แนวทางการ แปลงสู่ การปฏิบัติ

SWOT Analysis จุดอ่อน (W) โอกาส (O) จุดแข็ง (W) ภัยคุกคาม (T) ขาดจิตสำนึกสาธารณะ ค่านิยมฟุ่มเฟือยไร้ระเบียบ จำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยต่ำ (7.8 ปี) ผู้นำทางศาสนาที่มีคุณภาพมีไม่เพียงพอ สื่อคำนึงถึงผลประโยชน์ทางธุรกิจ องค์กรชุมชนจำนวนมากยังไม่เข้มแข็ง ขาดการต่อยอดพัฒนา เชื่อมโยงกับการสร้างรายได้ /คุณภาพชีวิต จุดอ่อน (W) การเปิดเสรีทางการค้า/บริการ & โลกาภิวัตน์ การรวมตัวของประชาชนเพิ่มขึ้น & มีบรรยากาศเอื้ออำนวย นโยบาย กลไกผู้ว่า CEO & งบประมาณ สนับสนุนการพัฒนาทุนทางสังคม โอกาส (O) ผู้นำทางสังคมกระจายอยู่ทุกสาขา / พื้นที่ คนไทยเปิดกว้าง ยืดหยุ่น พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ครอบครัว/ระบบเครือญาติเป็นสถาบันแรกเริ่มในการพัฒนาคน สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมจิตใจ หลักธรรมของทุกศาสนา (ความซื่อสัตย์ ความรัก ความเมตตา เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์) มีทรัพยากรทางศาสนามาก หลากหลาย/มีจุดเด่นในแต่ละภูมิภาค จุดแข็ง (W) การแข่งขันอย่างรุนแรงกระทบต่อการปรับตัวของคนไทย/สังคมไทย สังคมผู้สูงอายุ ภาวะพึ่งพิงสูง กระทบต่อกำลังแรงงาน งปม. & การเตรียมพร้อมของคนและระบบ ICT สร้างค่านิยม/พฤติกรรมไม่เหมาะสม & ทำลายทุนทางสังคม ภัยคุกคาม (T)

จุดอ่อน (W) ขาดจิตสำนึกสาธารณะ ค่านิยมฟุ่มเฟือย ไร้ระเบียบ ขาดจิตสำนึกสาธารณะ ค่านิยมฟุ่มเฟือย ไร้ระเบียบ จำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยต่ำ (7.8 ปี) ผู้นำทางศาสนาที่มีคุณภาพมีไม่เพียงพอ สื่อคำนึงถึงผลประโยชน์ทางธุรกิจ องค์กรชุมชนจำนวนมากยังไม่เข้มแข็ง ขาดการต่อยอดพัฒนา เชื่อมโยงกับการสร้างรายได้ /คุณภาพชีวิต จุดอ่อน (W)

จุดแข็ง (S) สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมจิตใจ หลักธรรมของทุกศาสนา (ความซื่อสัตย์ ความรัก ความเมตตา เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์) มีทรัพยากรทางศาสนามาก ครอบครัว/ระบบเครือญาติเป็นสถาบัน แรกเริ่มในการพัฒนาคน ผู้นำทางสังคมกระจายอยู่ทุกสาขา / พื้นที่ หลากหลาย/มีจุดเด่นในแต่ละภูมิภาค

โอกาส (O) การเปิดเสรีทางการค้า/บริการ & โลกาภิวัตน์ การเปิดเสรีทางการค้า/บริการ & โลกาภิวัตน์ การรวมตัวของประชาชนเพิ่มขึ้น & มีบรรยากาศเอื้ออำนวย นโยบาย กลไกผู้ว่า CEO & งบประมาณ สนับสนุนการพัฒนาทุนทางสังคม โอกาส (O)

ภัยคุกคาม (T) การแข่งขันอย่างรุนแรงกระทบต่อการปรับตัวของคนไทย/สังคมไทย ICT สร้างค่านิยม/พฤติกรรมไม่เหมาะสม & ทำลายทุนทางสังคม การแข่งขันอย่างรุนแรงกระทบต่อการปรับตัวของคนไทย/สังคมไทย สังคมผู้สูงอายุ ภาวะพึ่งพิงสูง กระทบต่อกำลังแรงงาน งปม. & การเตรียมพร้อมของคนและระบบ ภัยคุกคาม (T)

หลักการพัฒนาทุนทางสังคม การมีส่วนร่วม จากทุกภาคส่วน ปัจจัยหลักสนับสนุน วาระแห่งชาติอื่น สอดคล้องกับพื้นที่ & สถานการณ์ รักษา ฟื้นฟู ต่อยอด พัฒนา & สร้างภูมิคุ้มกัน สร้างสำนึก/คุณค่าร่วม & เป็นเครือข่าย หลากหลาย & ยืดหยุ่น สมดุล & ครบวงจร เชื่อมโยง

วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ เสริมสร้างคุณภาพชีวิตคนไทย คุณภาพ สังคมไทย ภูมิปัญญาการเรียนรู้ สมานฉันท์ วัตถุประสงค์ พัฒนาคนไทยให้มีคุณภาพ คุณธรรม จิตสำนึกสาธารณะและพฤติกรรมเพื่อ ส่วนรวม พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมให้เกิดความยั่งยืน เสริมสร้างระบบบริหารจัดการที่ดี ในทุกภาคส่วน

เป้าหมาย ทุนสถาบัน ทุนมนุษย์ ทุนภูมิปัญญาฯ คนไทยมีจิตสำนึกสาธารณะ สถาบันครอบครัว เข้มแข็งพึ่งตนเองได้ วัดทั้งประเทศมี กิจกรรมพัฒนาจิตใจคน / พัฒนาสังคม  ธุรกิจเอกชนมีเครือข่ายกิจกรรมธุรกิจเพื่อสังคม  สื่อสร้างสรรค์มีสาระเพื่อสังคมร้อยละ 50 ทุนมนุษย์ คนไทยมีจิตสำนึกสาธารณะ ทำฐานข้อมูลผู้ที่มีความสามารถ & ทักษะ(Talent & Skill Mapping) ทุนภูมิปัญญาฯ OTOP/ การท่องเที่ยว ได้รับการต่อยอด รักษา ฟี้นฟู สืบทอด ภูมิปัญญา / วัฒนธรรมเพื่อการพัฒนา

5 ยุทธศาสตร์การพัฒนา (1) สนับสนุน (5) พัฒนากลไก ให้เกิดกระบวนการ ทุนทางสังคม (5) พัฒนากลไก การติดตาม ประเมินผล 5 ยุทธศาสตร์การพัฒนา (4) สร้างภูมิคุ้มกัน ให้ทุนทางสังคม (2) เสริมสร้างพลัง และคุณค่าให้ ทุนทางสังคม (3) จัดการ/ แลกเปลี่ยน องค์ความรู้ ทุนทางสังคม

รณรงค์ผ่านสื่อสาธารณะทุกรูปแบบ จัดเวที/กระบวนการให้เกิดการรวมตัว ยุทธศาสตร์ 1 : สนับสนุนให้เกิดกระบวนการทุนทางสังคม รณรงค์ผ่านสื่อสาธารณะทุกรูปแบบ จัดเวที/กระบวนการให้เกิดการรวมตัว สอดแทรกประเด็นทุนทางสังคมไว้ในการทำงานขององค์กร/เครือข่ายทุกระดับ ร่วมกันกำหนดประเด็นหลักในการพัฒนา ค้นหาแบบอย่างที่ดีในการชุมชน/พื้นที่มาพัฒนาชุมชนของตนเอง

 ทำหลักสูตร/มาตรการจูงใจให้คนมีจิตสาธารณะ ยุทธศาสตร์ 2 : เสริมสร้างพลังและคุณค่าให้ทุนทางสังคม 2.1 ทุนมนุษย์  ทำหลักสูตร/มาตรการจูงใจให้คนมีจิตสาธารณะ ฟื้นฟูคุณค่าความเป็นไทยผ่านระบบการศึกษา/สื่อ/ครอบครัว สนับสนุนการทำงานของผู้นำ/นักปฏิบัติเพื่อสังคม เพิ่มความรู้/ทักษะแก่ประชาชนให้จัดการทุนทาง สังคมได้เหมาะสม เสาะหาผู้มีความสามารถและทักษะเพื่อให้เป็นฐาน การพัฒนาคน

สร้างความเข้มแข็งให้สถาบันตามความพร้อม/ ความต้องการ ยุทธศาสตร์ 2 : เสริมสร้างพลังและคุณค่าให้ทุนทางสังคม 2.2 ทุนสถาบัน สร้างความเข้มแข็งให้สถาบันตามความพร้อม/ ความต้องการ พัฒนาครอบครัวแบบบูรณาการ พัฒนาบุคลากรทางศาสนา ใช้มาตรการการเงินการคลัง/สังคมจูงใจภาคเอกชน ส่งเสริมสื่อสร้างสรรค์เพื่อสังคม 2. ส่งเสริมให้สถาบันทำหน้าที่เป็นทุนทางสังคม สร้างคนรุ่นใหม่ผ่านระบบการศึกษา ครอบครัว & ชุมชน เผยแพร่กระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ส่งเสริมการแปลงคำสอนศาสนาสู่วิถีชีวิต ให้สื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่เหมาะสม

เสริมสร้างความสามัคคี/ความไว้เนื้อเชื่อใจ ยุทธศาสตร์ 2 : เสริมสร้างพลังและคุณค่าให้ทุนทางสังคม 2.3 ทุนภูมิปัญญาฯ เสริมสร้างความสามัคคี/ความไว้เนื้อเชื่อใจ พัฒนาระบบการจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้ชุมชนร่วมมือกับสถาบันการศึกษาต่อยอดพัฒนา ใช้เทคโนโลยีให้เป็นประโยชน์ แปลงภูมิปัญญาในตัวคนให้ออกมาอย่างเป็นระบบ & เข้าถึงได้ ฟื้นฟู อนุรักษ์ พัฒนา ศิลปวัฒนธรรม ให้บ้าน วัด โรงเรียน ปลูกฝังถ่ายทอด ภูมิปัญญา

ยุทธศาสตร์ 3 : การจัดการและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ทุนทางสังคม ให้สถาบันการศึกษา หน่วยงานในพื้นที่และชุมชนจัดการความรู้ สนับสนุนงานวิจัย/พัฒนาองค์ความรู้ โดยเน้นงานวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของประชาชน สื่อเผยแพร่ / ประชาสัมพันธ์

ยุทธศาสตร์ 4 : สร้างภูมิคุ้มกันให้ทุนทางสังคม ศึกษาปัจจัย/อุปสรรคต่อการพัฒนา/ ลดทอนคุณค่าทุนทางสังคม กำหนดมาตรการทางภาษี กฎหมาย/สังคม เพื่อป้องกันและขจัดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ

ยุทธศาสตร์ 5 : การพัฒนากลไกติดตามประเมินผล พัฒนาระบบติดตามประเมินผล พัฒนาตัวชี้วัด/ ฐานข้อมูล ทั้งระดับชาติ/พื้นที่ รายงานผลเป็นประจำทุกปี 2. จัดทำแผนที่ทุนทางสังคม ทั้งระดับชาติ/ท้องถิ่น

ปัจจัยสู่ความสำเร็จ ภาวะผู้นำ / ผู้นำขับเคลื่อนกระแสสังคม สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องทุนทางสังคม มีแผนปฏิบัติการที่ชัดเจน การรวมกลุ่ม/สร้างเครือข่าย เชื่อมโยงกับ ภาคการเมือง สร้างบรรยากาศให้เอื้อต่อการพัฒนาทุนทางสังคม สร้างเครือข่ายสื่อทุกระดับ

การแปลงแนวทางสู่การปฏิบัติ เลือกเรื่อง สำคัญ ในระดับชาติ ยึดหลัก AFP ทำพื้นที่/ โครงการ นำร่อง วิจัย & สื่อสารสาธารณะ กลไกสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องในทุกระดับ

ชุมชน/ประชาชน รัฐบาล/ การเมือง สื่อมวลชน เอกชน กำหนดให้เป็น วาระแห่งชาติ & สนับสนุนอย่าง จริงจัง บทบาทของภาคี ระดับนโยบาย ตั้งคณะกรรมการพัฒนาทุนสังคม ระดับชาติ มี นรม. เป็นประธาน เป็นแกนนำระดับพื้นที่/ สร้างผู้นำชุมชน ชุมชน/ประชาชน รัฐบาล/ การเมือง ราชการ สื่อมวลชน พื้นที่ ส่วนกลาง เอกชน ระดับปฏิบัติ นำยุทธศาสตร์ไปใช้เป็นกรอบในการทำงาน เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ อย่างต่อเนื่อง & กว้างขวาง กลไกผู้ว่า CEO เป็นตัวประสานกับ อปท. และชุมชน ร่วมขับเคลื่อนตามความถนัด/สนใจ