การติดเชื้อไวรัสไข้เลือดออกในยุงลาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รัตนา ธีระวัฒน์ มยุรฉัตร เบี้ยกลาง วราลักษณ์ ตังคณะกุล
Advertisements

โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
โครงการการวิเคราะห์ต้นทุนประสิทธิผลการตรวจวินิจฉัยเชื้อมาลาเรียโดยชุดน้ำยาสำเร็จรูปกับวิธีตรวจฟิล์มหนาในพื้นที่จังหวัดตาก น้องเลี้ยง นางสาวเสาวนีย์ ดีมูล.
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ไข้เลือดออก.
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
วลีรัตน์ พูลผล (วทม.ปรสิตวิทยา) กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สคร. 7 อบ.
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 สิงหาคม 2551 สัปดาห์ที่ 32_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 กุมภาพันธ์ 2551 สัปดาห์ ที่ 6_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม – 10 พฤษภาคม 2551 สัปดาห์ที่ 19_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
เทคนิคการพ่นสารเคมี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5.
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
เทคนิคการพ่นสารเคมี โดย ดอกรัก ฤทธิ์จีน
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
ควบคุมโรคจากแมลงพาหะ
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การจัดการพาหะนำโรค ในสถานการณ์ปัจจุบัน
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
สถานการณ์โรคโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
ไข้เลือดออก.
นพ.สมจิตร ศรีศุภร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ประชุม WARROOM จังหวัดนครปฐม 10 สิงหาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2552 ดรุณี โพธิ์ศรี
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนพฤษภาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม กรกฎาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
การเก็บตัวอย่างและนำส่งตัวอย่าง ทางห้องปฏิบัติการด้านอาหาร
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554 สถานการณ์โรคติดต่อ ที่สำคัญ ประจำเดือน กรกฎาคม 2554.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การติดเชื้อไวรัสไข้เลือดออกในยุงลาย ก่อนและหลังพ่นยา กอบกาญจน์ กาญจโนภาศ นักวิชาการสาธารณสุข 9 ชช สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง

ปัญหา/ที่มา DENGUE / DENGUE HAEMORRHAGIC FEVER : A Rising Health Problem of Global Concern Tropical zone >100 countries 2.5 Billion at Risk (now including US) 50-100 Million Cases 500,000 Hospitalized 25,000 Deaths Morbidity 1-3 weeks DHF DF ภาพจาก Suchitra Nimmannitya, MD, MPH Clinical Professor of Pediatrics QUEEN SIRIKIT NATIONAL INSTITUTE OF CHILD HEALTH (Children’s Hospital)

Morbidity Rate/100,000 population by province, 1987- 2004 88 89 90 91 92 Highly endemic in Thailand > 50 years 93 94 95 96 97 98 99 00 01 02 03 04

Morbidity Rate and Case Fatality Rate of Dengue,Thailand ;1958 - 2007 per 100,000 pop. percentage CFR MR Year Note : Dengue include DF/DHF/DSS Source : Bureau of Epidemiology Data as of Dec 31, 2003 Prepared by : Dengue Control Section, DDC Dept., Ministry of Public Health , Thailand

อัตราป่วยเปรียบเทียบกับ Dengue Serotype ปี 2516-2551 2. ข้อมูลรายงาน 506 (ณ วันที่ 24 ก.ย. 51)

DF/DHF Vectors Ae. aegypti Ae. albopictus

การควบคุมเมื่อโรคระบาด มาตรการ : emergency priorities chemical control กำจัดตัวเต็มวัยด้วยการพ่นยาซึ่งสามารถยับยั้งการแพร่เชื้อฯได้ทันท่วงที (knock down infected mosquito) โดยคาดหวังว่า ยุงที่มีเชื้อไวรัสตายหมด หรือลดลง

วัตถุประสงค์ : เปรียบเทียบการติดเชื้อไวรัสไข้เลือดออกในยุง Ae.aegypti และ Ae.albopictus ก่อนและหลังพ่นยา

วิธีการ 1. พื้นที่ดำเนินการ 1. พื้นที่ดำเนินการ เลือกจังหวัดที่ข้อมูลชี้มีความชุกโรคไข้เลือดออกสูงและสะดวกต่อการนำส่งตัวอย่างยุงตรวจที่ห้อง lab ได้แก่ จังหวัดนครปฐม สมุทรสาคร และนนทบุรี

2. การจับยุง แหล่งจับยุง : บ้านผู้ป่วยที่แพทย์ระบุเป็น DHF และเพื่อนบ้าน 3-4 หลัง รัศมี 100 เมตร : จับยุงในบ้าน นอกบ้าน(ใกล้บ้าน)ช่วงเวลา 08.00-11.00 น. อุปกรณ์จับยุง: ที่ช็อตยุงซึ่งลดกระแสไฟต่ำลงในระดับที่ยุงไม่ตาย

จับยุงตามแหล่งเกาะพัก

การเก็บตัวอย่างยุงส่งห้อง Lab: - ยุงแต่ละชนิดแยกใส่หลอด cryo tube จำนวนไม่เกิน 30 ตัว/หลอด หลอดเก็บไว้ในถังไนโตรเจนเหลวหรือน้ำแข็งแห้ง - ส่งตรวจหาเชื้อไวรัสที่สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา (โครงการวิจัยและพัฒนาวัคซีน)

ถังเก็บตัวอย่างยุงส่งห้อง lab

3. การตรวจหาเชื้อไวรัสในยุง 3. การตรวจหาเชื้อไวรัสในยุง - วิธี RT-PCR และแยก serotype ด้วย 4. ข้อมูล - ร้อยละของแหล่งบ้านผู้ป่วยที่พบยุงมีเชื้อไวรัสฯ - ร้อยละการติดเชื้อไวรัสของยุงแต่ละชนิด

ผล ตารางที่ 1 จำนวนยุงที่จับได้ นครปฐม 9 66 2 25 0 6 0 26 2 123 4 127 จังหวัด จำนวน ก่อนพ่นยา หลังพ่นยา รายผู้ป่วย 3 วัน 5 วัน 7 วัน รวม(ตัว) รวมทั้งสิ้น(ตัว) aegypti albo aegypti albo aegypti albo aegypti albo aegypti albo นครปฐม 9 66 2 25 0 6 0 26 2 123 4 127 *สมุทรสาคร 7 194 39 79 2 - - 37 7 310 48 358 *นนทบุรี 7 273 0 186 0 - - 322 0 781 0 781 23 533 41 290 2 6 0 385 9 1,214 52 1,266 * ไม่มีการจับยุงหลังพ่นยา 5 วันจากปัญหาเจ้าของบ้านไม่สะดวกในการให้ความร่วมมือ

ตารางที่ 2 การพบเชื้อไวรัสไข้เลือดออกในยุงลาย ตารางที่ 2 การพบเชื้อไวรัสไข้เลือดออกในยุงลาย จังหวัด รายป่วย ก่อนพ่นยา หลังพ่นยา % pool ยุงที่ %รายป่วยที่ aegypti albopictus 3 วัน 5 วัน 7 วัน positive พบยุงมีเชื้อ aegypti albopictus aegypti albopictus aegypti albopictus สมุทร- 1 0 0 0 0 0 0 1 pool 0 16.67 สาคร (9 ตัว) Dengue 1 28.57 2 0 0 0 0 0 0 0 1 pool 10 (2 ตัว) Dengue 1 นนทบุรี 1 0 0 1 pool 0 0 0 0 0 20 2 0 0 1 pool 0 0 0 0 0 25 42.86 Dengue 4 3 1pool 0 0 0 0 0 0 0 28.57 (30ตัว) Deng 4

วิจารณ์ ยุงทั้งหมด 1,266 ตัว ได้ Ae.aegypti(1,214 ตัว) > Ae.albopictus (52 ตัว) ยุงชนิดแรกมีการติดเชื้อไวรัสมากกว่าชนิดหลัง แสดงถึงการเป็นพาหะสำคัญของยุงชนิดแรกบริเวณบ้านคน ให้ positive ประมาณ 20.05 % ส่วนมากพบใน pool ที่มีจำนวนตัวยุงน้อย(2-9ตัว) เปรียบเทียบกับการศึกษาในสิงคโปร์โดย Chow และคณะ(1998) เก็บตัวอย่างยุงในพื้นที่ dengue-sensitive areas ช่วงปี1995-1996 พบว่า 309 pools ให้ positive ประมาณ 20% 23 pools Ae.aegypti มี 1-17 ตัว โดย 18 pools (78. 3%) เป็นDengue 1 40 pools Ae.albopictus มี 1-33 ตัว โดย 31pools (77.5%) เป็น Dengue 1 โดย minimum infection rate ใกล้เคียงกัน 57.6 กับ 50 per 1,000 mosquitoes ?

ไม่สามารถเปรียบเทียบการติดเชื้อ ฯ ของยุง ก่อน และหลังพ่นยาได้ % รายป่วย จังหวัดสมุทรสาคร และนนทบุรี เท่ากับ 28.57 และ 42.86 ตามลำดับ อยู่ในเกณฑ์สูง และหลังพ่นยายังพบยุงมีเชื้อไวรัส สาเหตุอาจมาจาก 1. ยุงดื้อต่อสารเคมี ตอนเหนือของอินเดีย : Ae.aegypti ดื้อ marathion ปี 2006 ที่โรงพยาบาล AIIMS แพทย์ประจำบ้านจำนวนมากป่วยและ 1รายตาย ด้วยไข้เลือดออกทั้งๆที่มีการพ่นยาอย่างต่อเนื่องเมื่อเดือนที่ผ่านมา แพทย์และเจ้าหน้าที่ ทุกคนลงความเห็นว่า ยุงดื้อต่อยา จึงดำเนินการศึกษาวิจัย Latin America : Ae.aegypti และ Cx.quinquefasciatus ดื้อ malathion ปัจจุบัน บางประเทศใช้ combination insecticide

2. คุณภาพของการพ่นยา - ทักษะผู้พ่น (การผสมน้ำยา ช่วงเวลาที่พ่น ความครอบคลุมพื้นที่ ฯลฯ) - อุปกรณ์ที่ใช้พ่น - คุณภาพสารเคมี - ฤดูกาล ฯลฯ

ใช้ดัชนีจากยุงเพศผู้มาตรวจหาเชื้อไวรัส Transovarian ใช้ดัชนีจากยุงเพศผู้มาตรวจหาเชื้อไวรัส ปี 2006, อุษาวดี และคณะ พบ Ae.aegypti และ Ae.albopictus จาก จังหวัดกระบี่ ภูเก็ต พังงาและสุราษฎร์ธานี มี Den – 2 และทั้ง Den – 2 กับ Den – 3 ในตัวเดียวกัน

ดังนั้น เมื่อเกิดการระบาดโรคไข้เลือดออก(outbreak) พ่นยา 0 วัน และ 7 วัน ตามมาตรฐานฯของสำนักแมลง มาตรการเสริมร่วมด้วย คือ กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงและให้สุขศึกษาประชาชน ป้องกันยุงกัด

ข้อเสนอแนะ 1. ควรนำไปใช้ประเมินผลการควบคุมโรคเพื่อชี้ประสิทธิผลของการพ่นยา 2. การสอบสวนทางระบาดวิทยา : ข้อมูลทางกีฏวิทยาอาจให้คำตอบได้ กรณีผลตรวจ case ให้ negative 3. Future prospective field survey 3-5 ปี ที่สิงคโปร์ : Dengue virus infection rate in field population of female Ae.aegypti and Ae.albopictus in Singapore ปี 1997 – 2000 (4 ปี) Ae.aegypti 6.9% (54 of 781) Ae.albopictus 2.9% (67 of 2,256) ทำให้เห็นการเปลี่ยนแปลง Serotype เชื้อไวรัสในยุง (virological surveillance in mosquitoes) การใช้ที่ช็อตจับยุงมีผลต่อการสลายเชื้อในยุงหรือไม่ ? อาจต้องใช้ ovitrap

ปัญหา/อุปสรรค การพ่นยากำจัดยุงเต็มวัยภายใน 24 ชั่วโมงตามมาตรฐาน เจ้าของบ้านไม่อยู่บ้าน สภาพแวดล้อมบ้านที่เหมาะสมต่อการมียุงลาย ทีมปฏิบัติงานทางกีฏวิทยา ความพร้อมทางห้อง Lab

ขอขอบคุณทุกท่าน