วันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๐ ประชุมเครือข่าย สคร. ๑ ถึง ๑๒.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ทิศทางหลักกรมควบคุมโรค ปี 2553
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
รายประเด็น ปีงบประมาณ 2553
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 ราชบุรี
การสร้างและพัฒนา เครือข่ายองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น เพื่อผลักดัน นโยบายการป้องกัน ควบคุมโรคในพื้นที่ รับผิดชอบของ สำนักงาน ป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๐ ประชุมเครือข่าย สคร. ๑ ถึง ๑๒

โครงการพัฒนาภาคีเครือข่ายและนโยบายภาค พื้นที่สาธารณสุขเขต 5 ในการเพิ่มประสิทธิภาพและความครอบคลุม การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี ปีงบประมาณ 2550

หลักการและเหตุผล Healthy Thailand Healthy Thailand ระดับหมู่บ้าน ชุมชน จำนวน 3 ตัวชี้วัด ระดับหมู่บ้าน ชุมชน จำนวน 3 ตัวชี้วัด ระดับตำบล จำนวน 1 ตัวชี้วัด ระดับตำบล จำนวน 1 ตัวชี้วัด ระดับอำเภอ จำนวน 2 ตัวชี้วัด ระดับอำเภอ จำนวน 2 ตัวชี้วัด ระดับจังหวัด จำนวน 1 ตัวชี้วัด ระดับจังหวัด จำนวน 1 ตัวชี้วัด สถานการณ์ของโรค 6 โรค 2 พฤติกรรม สถานการณ์ของโรค 6 โรค 2 พฤติกรรม

สถานการณ์ 6 โรคและ 2 พฤติกรรม จำนวนผู้ป่วยและอัตราป่วย โรควัณโรค ปี 2549 จำนวนผู้ป่วยอัตราป่วย ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี จำนวนผู้ป่วยและอัตราป่วย โรคไข้หวัดใหญ่ ปี 2549 จำนวนผู้ป่วยอัตราป่วยชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี จำนวนผู้ป่วยและอัตรา ป่วยโรคไข้เลือดออก ปี 2549 จำนวนผู้ป่วยอัตราป่วยชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี

สถานการณ์ 6 โรคและ 2 พฤติกรรม(ต่อ) จำนวนผู้ป่วยและอัตราป่วย โรคอาหารเป็นพิษ ปี 2549 จำนวนผู้ป่วยอัตราป่วย ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี อัตราป่วยด้วยโรคหลอดเลือด สมอง อัมพฤกษ์ อัมพาต อัตราป่วย ชัยนาท 1.12 ลพบุรี 1.82 สระบุรี 6.37 สิงห์บุรี 1.42 จำนวนผู้ป่วยและ อัตราป่วยโรคเอดส์ ปี 2549 จำนวนผู้ป่วยปี 49 จำนวนสะสมอัตราป่วยชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี

สถานการณ์ 6 โรคและ 2 พฤติกรรม(ต่อ) พฤติกรรมการสูบบุหรี่ ในปัจจุบัน สถานการณ์โรคไข้หวัดนก 1 มกราคม ธันวาคม 2549 ได้เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยโรคปอดบวม/ไข้หวัดใหญ่เข้าข่ายสงสัยไข้หวัดนก จำนวน 166 ราย โดยพบมากที่สุดที่ จ.ลพบุรี 96 ราย รองลงมาจังหวัดชัยนาท 33 ราย สระบุรี 24 ราย และสิงห์บุรี 13 ราย ไม่พบผู้ป่วยยืนยันไข้หวัดนก ปี 2548 ไม่พบผู้ป่วยยันยัน ปี 2547 พบผู้ป่วยยืนยัน จังหวัดลพบุรี 1 ราย เกณฑ์ 22% ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี 14.59

สถานการณ์ 6 โรคและ 2 พฤติกรรม(ต่อ) พฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยในพื้นที่สาธารณสุขเขต 5 ปี 2548 กิจกรรมจังหวัด ชัยนาทลพบุรีสระบุรีสิงห์บุรี 1. การใช้ถุงยางอนามัยใน ม.2, ม.5, ปวช ครั้งแรก ชาย หญิง 1.2 ใช้กับแฟน / คนรัก / เพื่อน ชาย หญิง 2. การใช้ถุงยางอนามัยในผู้หญิงขายบริการ ชาย หญิง -* 41.70% 18.81% 35.00% 11.08% 28% 36% 95% 88% -* 88.8% 88.9% 61.8% 11.8% 76.9% 75% 15.6% 15.4% 18.75% 13.55% -* ที่มา: สถานการและผลการดำเนินงาน ปี 2548 สคร.ที่ 2 จังหวัดสระบุรี หมายเหตุ ปี 2549 ยังไม่มีข้อมูล ** จังหวัดไม่ได้ดำเนินการในกลุ่มนี้

วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อสร้างและพัฒนาภาคีเครือข่าย ต่างๆ ดังนี้ 1) สำนักตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข และสาธารณสุขนิเทศก์ 2) คปสข./สาธารณสุขจังหวัด / CUP 3) สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี 4) องค์การบริหารส่วนจังหวัด 5) เทศบาล / องค์การบริหารส่วนตำบล 6) สื่อมวลชนท้องถิ่น 7) ปศุสัตว์จังหวัด / ปศุสัตว์อำเภอ 2.2 เพื่อวิเคราะห์สภาพปัญหาเกี่ยวกับนโยบายการกระจาย อำนาจด้านสุขภาพสู่ระดับท้องถิ่นในปัจจุบัน 2.3 เพื่อพัฒนากลไกการประสานงานและดำเนินการเพื่อให้ บรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารรสุข กลุ่ม ภารกิจ กรมควบคุมโรค และสำนักงานป้องกันควบคุมโรค ที่ 2 จังหวัดสระบุรี 2.4 เพื่อพัฒนาแผนเตรียมความพร้อม ซักซ้อมแผนรองรับ ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข และการระบาดของโรค เฉียบพลันในระดับพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย ผู้บริหาร/ผู้รับผิดชอบงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพหน่วยงานในพื้นที่ สาธารณสุขเขต 5 (จังหวัดสระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท) จำนวนทั้งสิ้น 126 คน ประกอบด้วย จำนวนทั้งสิ้น 126 คน ประกอบด้วย 3.1 ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข / สาธารณสุขนิเทศก์ 3.2 นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด /นักวิชาการของสำนักงานสาธารณสุข จังหวัด/นักวิชาการของ คปสข./ผู้บริหารและนักวิชาการของ CUP 3 3 ผู้บริหารและนักวิชาการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี 3.4 ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนจังหวัดและผู้รับผิดชอบงานป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ 3.5 ผู้บริหารเทศบาล / องค์การบริหารส่วนตำบล และผู้รับผิดชอบงานป้องกัน ควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพ 3.6 สื่อมวลชนท้องถิ่น 3.7 ปศุสัตว์จังหวัด / ปศุสัตว์อำเภอ 3.8 เครือข่ายในพื้นที่อื่นๆ เช่น NGOs / สถาบันการศึกษา (ครูอนามัยโรงเรียน)

วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข, สาธารณสุขนิเทศก์, คปสข., สคร. ที่ 2 สาธารณสุขเขต 5 สาธารณสุขจังหวัด, หัวหน้าฝ่าย ผู้รับผิดชอบงาน สสจ., ปศุสัตว์จังหวัด, สื่อมวลชน สิงห์บุรี ผู้บริหาร นักวิชาการ CUP, สื่อมวลชน, ปศุสัตว์อำเภอ, NGOs ผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบงาน เทศบาล อบต., NGOs, ครูอนามัยโรงเรียน สระบุรีชัยนาทลพบุรี เมืองหนองแคสรรพยาโคกสำโรงบางระจันหนองแซงวัดสิงห์หนองม่วง ม่วงหมู่ บางมัญ หนองปลาหมอ หนองปลิง โพนางดำออก หาดอาสา ห้วยโป่ง หนองปลิง โพชนไก่ แม่ลา หนองแก น้ำสร้าง มะขามเฒ่า วังหมัน ดงดินแดง ชอนสมบูรณ์

เงื่อนไขการดำเนินงาน ดำเนินการร่วมประชุม เพื่อสนับสนุนการประสานเครือข่าย ดำเนินการร่วมประชุม เพื่อสนับสนุนการประสานเครือข่าย วิเคราะห์นโยบาย สภาพปัญหา กลไกในการประสานงาน และการดำเนินงาน วิเคราะห์นโยบาย สภาพปัญหา กลไกในการประสานงาน และการดำเนินงาน ดำเนินการตามขั้นตอนกลยุทธ์ เป้าหมาย และตัวชี้วัด กิจกรรม ดำเนินการตามขั้นตอนกลยุทธ์ เป้าหมาย และตัวชี้วัด กิจกรรม โดยใช้กระบวนการชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) โดยใช้กระบวนการชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) และการสรุปบทเรียนหลังการปฏิบัติงาน After Action Review : AAR และการสรุปบทเรียนหลังการปฏิบัติงาน After Action Review : AAR Lesson Learn Lesson Learn ถอดบทเรียนแบบสรุปรวม Retrospective & Performance Measurement : PM หลังสิ้นสุดโครงการ ถอดบทเรียนแบบสรุปรวม Retrospective & Performance Measurement : PM หลังสิ้นสุดโครงการ จัดทำสรุปรายงานความก้าวหน้า จัดทำสรุปรายงานความก้าวหน้า

การสรุปบทเรียนหลังการปฏิบัติและการถอด บทเรียนแบบสรุปรวม (After Action Review & Retrospective)

การติดตาม – ประเมินผล - การถอดบทเรียน - สังเคราะห์องค์ความรู้ ปัจจัย นำเข้า กระบวนการผลลัพธ์ เบื้องต้น ปัจจัยนำเข้า - คณะทำงาน และบริหารจัดการ โครงการ - แผนปฏิบัติการ - งบประมาณ กระบวนการ - การพัฒนา ศักยภาพ - การสนับสนุน การทำงาน - การติดตาม และประเมินผล ผลลัพธ์เบื้องต้น - ฐานข้อมูลพื้นที่ฯ - เป้าหมาย - ข้อเสนอรายงาน ผลการติดตาม ฯ ผลลัพธ์ ขั้นสุดท้าย 1. องค์ความรู้ การดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรค 2. รูปแบบ การดำเนินงาน พัฒนางาน ป้องกันควบคุมโรค ปัจจัยภายนอก เช่น - สถานการณ์ การพัฒนา ประเทศ - นโยบายของ รัฐบาล - โครงการอื่น ๆ ที่ขับเคลื่อน ในพื้นที่ ส่วนกลาง ( กระทรวง / สปสช.) ระดับพื้นที่ ( พื้นที่ 16 แห่ง )

การถอดบทเรียนหลังปฏิบัติการและ สิ้นสุดโครงการ (AAR และ Retrospective) ปฏิบัติ ชุด ความรู้ ที่ กำหนด AAR1 : บทเรียนข้อเสนอแนะ AAR… : บทเรียนข้อเสนอแนะ … AAR3 : บทเรียนข้อเสนอแนะ AAR2 : บทเรียนข้อเสนอแนะ 1-2 AAR… : บทเรียนข้อเสนอแนะ … กำหนดประเด็นใน การถอดบทเรียน วางแผนการ ปฏิบัติครั้งต่อไป วางแผนการ ปฏิบัติครั้งต่อไป วางแผนการ ปฏิบัติครั้งต่อไป วางแผนการ ปฏิบัติครั้งต่อไป เริ่มต้นสิ้นสุดโครงการ

ระยะเวลาดำเนินโครงการ มกราคม - กันยายน 2550 กิจกรรมหลัก 1 การวิเคราะห์นโยบาย สภาพปัญหา กลไกใน การประสานงานและการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคของหน่วยงานภาคีเครือข่ายในพื้นที่สาธารณสุขเขต 5 กิจกรรมหลัก 1 การวิเคราะห์นโยบาย สภาพปัญหา กลไกใน การประสานงานและการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคของหน่วยงานภาคีเครือข่ายในพื้นที่สาธารณสุขเขต 5 กิจกรรมหลัก 2 จัดกระบวนการชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) สร้างความสัมพันธ์กับภาคีเครือข่ายและถ่ายทอดแนวทาง มาตรฐานในการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรคผ่านภาคีเครือข่ายใน รูปแบบที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ กิจกรรมหลัก 2 จัดกระบวนการชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) สร้างความสัมพันธ์กับภาคีเครือข่ายและถ่ายทอดแนวทาง มาตรฐานในการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพ การควบคุมป้องกันโรคผ่านภาคีเครือข่ายใน รูปแบบที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ กิจกรรมหลัก 3 ติดตามประเมินผล กิจกรรมหลัก 3 ติดตามประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน กิจกรรมหลัก 4 จัดทำแผนพัฒนาการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและแผนเตรียม ความพร้อมรองรับภาวะ ฉุกเฉินและการระบาดของโรคในระดับพื้นที่ กิจกรรมหลัก 4 จัดทำแผนพัฒนาการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและแผนเตรียม ความพร้อมรองรับภาวะ ฉุกเฉินและการระบาดของโรคในระดับพื้นที่ วิธีการดำเนินงาน

งบประมาณดำเนินโครงการ 1,000,000 บาท (หนึ่งล้านบาทถ้วน) จากกลุ่มภารกิจที่ 1 การพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

MOP H

ได้แผนเตรียมความพร้อมร่วมกัน PHO Provincial Health Office CUP PCU CH Community Hospital DHO District H O HC Health Center PLAN Policy Politics Probability Problem Based Participatory Prepared for Budget Effectively MOPHDDC DPC2 CEO Predict ED Emerging& Re-e. disease People BB EAO

การป้องกันควบคุมโรคใน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การเฝ้าระวังภัยพฤติกรรมสุขภาพ การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพในภาครัฐ การบรรลุเป้าหมาย ตามเกณฑ์

ผู้รับผิดชอบ ระดับหน่วยงาน ระดับหน่วยงาน นางสุจิตรา อังคศรีทองกุล นักวิชาการสาธารณสุข 9 ชช. นางสุจิตรา อังคศรีทองกุล นักวิชาการสาธารณสุข 9 ชช. ระดับทีมงาน ระดับทีมงาน นางสาววราภรณ์ อึ้งพานิชย์นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว. นางสาววราภรณ์ อึ้งพานิชย์นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว. นางสาวรุ่งอรุณ นุทธนูนักวิชาการสาธารณสุข 8 ว. นางสาวรุ่งอรุณ นุทธนูนักวิชาการสาธารณสุข 8 ว. นางวิจิตร เอี่ยมบริสุทธินักวิชาการสาธารณสุข 8 ว. นางวิจิตร เอี่ยมบริสุทธินักวิชาการสาธารณสุข 8 ว. นางสาวศิริพร วัชรากรนักวิชาการสาธารณสุข 8 ว. นางสาวศิริพร วัชรากรนักวิชาการสาธารณสุข 8 ว. นายคาวุฒิ ฝาสันเทียะนักวิชาการสาธารณสุข 8 ว. นายคาวุฒิ ฝาสันเทียะนักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.

ความงามและความหลากหลายของการพัฒนา เป็นศิลปะของการบริหารอย่างหนึ่ง