นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การป้องกันควบคุมโรค ในเขตสุขภาพ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กรมควบคุมโรคห่วงใย อยากเห็น คนไทยสุขภาพดี นโยบายการจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค 1 นายแพทย์มานิต ธีระตันติกานนท์ อธิบดีกรมควบคุมโรค.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค “แลไปข้างหน้า โครงการอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค

นิยาม “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ของพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ์ 2

กรอบแนวคิด 5 คุณลักษณะ ของ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” 1. มีคณะกรรมการฯ : ภาคส่วนที่สำคัญมีส่วนร่วม เช่น อปท. สาธารณสุข อสม. 2. มีระบบระบาดวิทยาที่ดี : ข้อมูล ทันสถานการณ์ 3. มีการวางแผนฯ : แนวทางแก้ไข ตามปัญหาพื้นที่ 4. มีการระดมทุน 5. มีผลสำเร็จของการควบคุม ป้องกันโรคและภัยสุขภาพ : แก้ไขปัญหาพื้นที่ทันการณ์ SRRT ตำบล

ปัจจุบัน อนาคต ไม่เป็นระบบ?? กรม คร. มุ่งเน้น “อำเภอ” เป็นพื้นที่เป้าหมายเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ รวมถึงการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ แบบมีส่วนร่วม ให้เกิดประสิทธิผลต่อสุขภาพของ ประชาชนในพื้นที่ ทันสถานการณ์ ปัจจุบัน อนาคต ....... 1. มีคณะกรรมการ 1. มีคณะกรรมการ 2.มีระบบระบาดฯ 3.มีการวางแผน 2.มีระบบระบาดฯ 5.มีผลงาน 4.มีการระดมทุนฯ 3.มีการวางแผน ....... ....... 4.มีการระดมทุนฯ 5.มีผลงาน ไม่เป็นระบบ??

แนวทางในการดำเนินงาน  อำเภอประเมินตนเอง (self assessment) วัตถุประสงค์ : เพื่อสื่อสารคุณลักษณะให้ผู้เกี่ยวข้องในอำเภอได้ทราบ  จังหวัดคัดเลือกอำเภอที่โดดเด่น 1 อำเภอ วัตถุประสงค์ : เพื่อให้จังหวัดทราบศักยภาพของอำเภอ  กรมควบคุมโรคดำเนินการประเมิน วัตถุประสงค์: ทราบรูปแบบการดำเนินงาน & ค้นหาปัจจัยแห่งความสำเร็จ  กรมควบคุมโรคคัดเลือก 18 จาก 76 อำเภอ วัตถุประสงค์ : ขยายผลปัจจัยแห่งความสำเร็จ 5

ขั้นตอน กระบวนงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯ ปี 54 1. อำเภอ ประเมินตนเอง (self assessment) รอบที่ 1 มค.-มีค.54 ส่งแบบ self assessment ให้จังหวัด หรือ Key in ผ่านเวบไซด์ www.kmddc.go.th 2. จังหวัด รวบรวม วิเคราะห์ self assessment รอบที่ 1 สรุป : อำเภอที่ได้คะแนนตั้งแต่ร้อยละ 80,สัดส่วนอำเภอที่ผ่าน เพื่อรายงานผู้ตรวจ พัฒนาส่วนขาด เรียนรู้ความ สำเร็จอำเภอเข้มแข็ง 3. สคร. วิเคราะห์ self assessment รอบที่ 1 ร่วมตรวจราชการ โดยใช้ข้อมูลการประเมินรอบที่ 1 ของจังหวัดนั้น ให้ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนา รายงานผลตรวจของจังหวัดในวันที่ตรวจ รายงานผลตรวจภาพรวมเขต 15 วันหลังตรวจ 6. สคร (พค.–มิย.). วิเคราะห์ self assessment รอบที่ 2 ประเมินอำเภอ ตัวแทนและข้างเคียง ร่วมตรวจราชการรอบที่ 2 รายงานผลตรวจของจังหวัดในวันที่ตรวจ รายงานผลตรวจภาพรวมเขต 15 วันหลังตรวจ คัดเลือกตัวแทนเขตตรวจ 5. จังหวัด (พค. -มิย.) รวบรวม วิเคราะห์ self assessment รอบที่ 2 สรุป : อำเภอที่ได้คะแนนตั้งแต่ ร้อยละ 80,สัดส่วนอำเภอที่ผ่าน เพื่อรายงานผู้ตรวจ คัดเลือกอำเภอตัวแทนจังหวัด 4. อำเภอ (พค.) ประเมินตนเอง (self assessment)รอบที่ 2 31 พค.54 ลงข้อมูล self assessment ผ่านเวบไซด์ www.kmddc.go.th 6

นโยบายเน้นหนัก ปีงบประมาณ 2554 - 2555 เดิมปี 2554 การพยากรณ์โรค อำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน พัฒนา SRRT ทุกตำบล HRM, HRD ใหม่ ปี 2555 1. .... ? 2. .... ? 7

พยากรณ์โรค ปี 2554 สร้างความเข้าใจ Concept การพยากรณ์โรค อบรมความรู้ให้เจ้าหน้าที่ กำหนดจัดทำรายงานพยากรณ์โรค หน่วยงานละ 1 เรื่อง จัดเวทีนำเสนอผลงานการพยากรณ์โรค ปี 2555 ......... ? 8

อำเภอเข้มแข็ง ปี 2554 กำหนดคุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ชี้แจงสร้างความเข้าใจ สสจ. อำเภอ อำเภอ ประเมินตนเอง 2 รอบ (ผ่านเกณฑ์ ~ 80%) กระตุ้นสร้างแรงจูง ปี 2555 วิเคราะห์ / สังเคราะห์ / สรุปบทเรียนปี 2554 ขับเคลื่อนแต่ละจังหวัดให้การสนับสนุน การสร้างความร่วมมือเครือข่าย ขับเคลื่อนผ่านสมัชชาในพื้นที่ ประเมินผลโครงการโดยใช้เครื่องมือที่เหมาะสม กำหนดคุณลักษณะอำเภอเข้มแข็งเชิงคุณภาพ 9

SRRT ตำบล ปี 2554 Main responsibility by BoE Role of other Bureaus & ODPCs Clear criteria & guideline How to incorporate with Disease control district & other initiatives? อบรม SRRT ระดับตำบลแล้ว 4,666 แห่ง (47.7%) ปี 2555 ขยายผล => ครบทุกแห่ง (9,779) ? แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ....? 10

พื้นที่ควบคุมโรคเข้มแข็งและยั่งยืน กรอบความคิด พื้นที่ควบคุมโรคเข้มแข็งและยั่งยืน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ตำบลควบคุมโรคเข้มแข็ง ประเทศควบคุมโรค เข้มแข็ง คุณลักษณะที่ชี้บ่งความเข้มแข็งและยั่งยืน ความร่วมมือจากภาคี ระบบงานระบาดวิทยา มีแผน&ผลงานควบบคุมโรคที่เป็นปัญหา ระดมทรัพยากรมาดำเนินการ จังหวัดควบคุมโรคเข้มแข็ง ลดโรค บทบาทกรมควบคุมโรค ประสาน สนับสนุน กระตุ้น ชี้ปัญหา สร้างแรงจูงใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประชาชนได้รับการป้องกันโรคและภัยสุขภาพ

การควบคุมโรคที่เข้มแข็งยั่งยืน ประชาชนได้รับการป้องกัน ควบคุมโรค Roadmap ยุทธศาสตร์การพัฒนาและร่วมมือกับเครือข่ายภาคีภายในประเทศและนานาชาติ รวมทั้งสนับสนุนพื้นที่ในการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคและภัยสุขภาพอย่างเข้มแข็งและยั่งยืน ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 1.ปรับกลไกและสร้างนโยบายให้เอื้อต่อการขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาความร่วมมือและศักยภาพเครือข่าย ทีมวิชาการที่ศึกษาเรื่องระบบควบคุมโรคที่เข้มแข็ง มีกลุ่มงานของ สคร รับผิดชอบ พัฒนากลไก กระบวนการ ฐานข้อมูล การควบคุมโรคที่เข้มแข็งยั่งยืน ประชาชนได้รับการป้องกัน ควบคุมโรค 2.สร้างและขยายความร่วมมือการควบคุมโรคในระดับชาติ สร้างความเข้าใจระหว่างสำนักฯ ทบทวนแผนยุทธศาสตร์โรค ร่วมกำหนดเครือข่านภาคีระดับประเทศ และแผนความร่วมมือ จัดทำและดำเนินการตามแผน / ข้อตกลง / ประเมิน 3.เสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งการควบคุมโรคระดับจังหวัดและอำเภอ - สร้างคุณลักษณะความเข้มแข็งการควบคุมโรคระดับจังหวัด อำเภอ ทบทวนและค้นหาปัญหาอุปสรรค แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แก้ไขปัญหาตามข้อเสนอแนะ ประเมินผลสำเร็จการดำเนินงานภาพรวม สนับสนุน/ปิด Gap / สร้างสัมพันธ์

ระบบป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพของไทยในปัจจุบัน องค์กรและเวทีระหว่างประเทศ ระดับทวิภาคี ระดับภูมิภาคและ ระดับโลก เช่น WHO, FAO, OIE, UNICEF, ASEAN, APEC, ACMECS, etc. อปท ภาคส่วน อื่นๆ เช่น ธุรกิจ เอกชน มหาวิทยาลัย NGOs ชุมชน ผู้นำชุมชน อาสาสมัคร กลุ่มกิจกรรมในชุมชน สนับสนุนปฏิบัติการ ปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรค ออกข้อบัญญัติท้องถิ่น สนับสนุนวิชาการ ปฏิบัติการ กำกับ ประเมินผล กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แนวทาง มาตรฐาน บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง สธ กรม สสจ รพศ รพท สสอ รพช รพสต ศวข ภาพนี้ อธิบายระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของไทยในปัจจุบัน ซึ่งในลักษณะโครงสร้าง จะมีกรมควบคุมโรคและหน่วยงานส่วนกลางของกระทรวงสาธารณสุข เป็นหลักในการพัฒนานโยบาย ยุทธศาสตร์ สนับสนุนคู่มือ แนวทาง วิชาการและการปฏิบัติการ ทำการติดตามประเมินผล รวมทั้งดูแลกฎหมาย กฎข้อบังคับที่เกี่ยวข้องต่างๆ สำหรับหน่วยงานในระดับถัดไป ได้แก่ ระดับเขต ซึ่งมีได้ทั้งสำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์เขต (ร่วมเฝ้าระวังโรคทางห้องปฏิบัติการ) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รพ. ซึ่งจะทำหน้าที่ปฏิบัติการ สนับสนุนวิชาการ ติดตามประเมินผล ด้านการป้องกันควบคุมโรค ลำดับต่อไป เป็นหน่วยงานในระดับอำเภอ ซึ่งมีสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และรพ.อำเภอ รวมไปถึงรพ.สต. ที่เป็นหน่วยปฏิบัติการร่วมเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคในท้องถิ่น นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมีรากฐานที่มั่นคงในการป้องกันควบคุมโรค นั่นคือ ชุมชน ผู้นำชุมชน อสม.และประชาชน และหากมองในมิติของการปกครอง เราก็มีองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ได้แก่ อบจ. อบต. เทศบาล เข้ามามีอำนาจหน้าที่ในการปฏิบัติการ และสนับสนุนการป้องกันควบคุมโรคในท้องถิ่น รวมทั้งออกข้อบังคับ และกฎหมายท้องถิ่นนอกจากนี้ ในระบบยังมีภาคส่วนต่างๆ เช่น ภาคเอกชน NGOs และพันธมิตร อื่นๆ ตลอดจนความร่วมมือกับต่างประเทศ เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของระบบอีกด้วย กิจกรรม และพฤติกรรม ป้องกัน ควบคุมโรค ในชุมชน 13 WHO, FAO, OIE, and other international partners ASEAN, APEC, ACMECS and other Regional forums

สธ คร. โครงการอำเภอ ควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน ระบบป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพของไทยในปัจจุบัน ขยายกลไก สธ. ในการควบคุมโรค กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แนวทาง มาตรฐาน สนับสนุนวิชาการ ปฏิบัติการ กำกับ ประเมินผล บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง สธ คร. SRRT อำเภอ จังหวัด ตำบล กรม คร. & เขต สคร สสจ รพท/รพศ สสอ รพช รพสต สนับสนุนวิชาการ ปฏิบัติการ กำกับ ประเมินผล ปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรค โครงการอำเภอ ควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน สนับสนุนปฏิบัติการ ปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรค ออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ภาพนี้ ขยายความกลไกของกระทรวงสาธารณสุขในการป้องกันควบคุมโรค นอกเหนือจากโครงสร้างตามสายการบังคับบัญชาและประสานงานตามที่ได้บรรยายไปแล้วในสไลด์ก่อนหน้านี้ กรมควบคุมโรคยังได้จัดตั้งทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance Rapid Response Team ; SRRT team) ทำหน้าที่สอบสวนโรคและให้การควบคุมโรคเบื้องต้น ในแต่ละทีมประกอบด้วยเจ้าหน้าที่หลากหลายสาขา แตกต่างกันไปตามแต่ละระดับ ซึ่งเรามีระดับส่วนกลาง มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านระบาดวิทยา นักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งเจ้าหน้าที่สนับสนุนตามแต่ละกรณีของโรคหรือภัยสุขภาพที่เข้าสอบสวนหรือควบคุมโรค เข้าให้การสนับสนุนทีม SRRT ระดับเขต และพื้นที่ตามลำดับ เมื่อพบกรณีที่มีความซับซ้อน ขณะนี้เรามี ทีม SRRT ตั้งแต่ระดับส่วนกลางไปจนถึงระดับอำเภอ มากกว่า 1,000 ทีม และกำลังจะขยายไปสู่ SRRT ระดับตำบลให้ครบทุกตำบลต่อไป นอกจากนี้ กรมคร.ยังได้มีการผลักดันและสนับสนุนโครงการที่เน้นให้ท้องถิ่น ระดับอำเภอ มีความเข้มแข็ง สามารถทำหน้าที่ป้องกันควบคุมโรคได้ด้วยตนเอง ที่เรียกว่า “อำเภอเข้มแข็ง” ซึ่งอยู่ระหว่างการดำเนินการ หากเป็นผลสำเร็จได้ทั่วประเทศ จะทำให้ประเทศไทย พัฒนาขีดความสามารถในการป้องกันควบคุมโรคได้อย่างมหาศาล อปท กิจกรรม และพฤติกรรม ป้องกัน ควบคุมโรค ในชุมชน 14 WHO, FAO, OIE, and other international partners ASEAN, APEC, ACMECS and other Regional forums

พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โรคติดต่อ “สร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผลการป้องกันควบคุมโรค” พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 1. พัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” 2. พัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) เครือข่ายระดับตำบล 3. พัฒนาการพยากรณ์โรค โรคติดต่อ ไข้เลือดออกเชิงรุก EPI ป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็ก เร่งรัดกำจัดโรคพิษสุนัขบ้า เร่งรัดกำจัดโรคเรื้อน เร่งรัดควบคุมวัณโรค เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์บูรณาการ โรคไม่ติดต่อ และปัจจัยเสี่ยง ชุมชนปลอดเหล้า บุหรี่ ชุมชนลดเสี่ยงลดโรค โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส

ตามนโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน แนวทางการดำเนินงาน ตามนโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2555 ด้านนโยบาย : ผลักดันให้อำเภอทั่วประเทศพัฒนาตามคุณลักษณะของ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” คงกรอบแนวคิด ปี 2554 ผลักดันให้เป็นตัวชี้วัดคำรับรองผลการปฏิบัติงานของ ผู้ว่า ฯ และตัวชี้วัดผู้ตรวจราชการ ฯ (ต่อเนื่อง) ขยายผลความร่วมมือ เพิ่มกลุ่มเครือข่ายร่วม กระบวนการ(อปท. กรมการปกครองฯ)

ตามนโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน แนวทางการดำเนินงาน ตามนโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2555 ด้านวิชาการ : พัฒนาเกณฑ์และวิธีประเมินเชิงคุณภาพ ขยายการพัฒนาศักยภาพบุคลากร และให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการสำหรับอำเภอที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ พัฒนาการกำหนดเกณฑ์และวีธีประเมินคุณลักษณะ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เชิงคุณภาพ ขยายการพัฒนาศักยภาพบุคลากรของกรมควบคุมโรค และ เครือข่ายเครือข่าย SRRT ตำบล ทั่วประเทศอีกประมาณ 5000 แห่ง เพื่อเพิ่มให้ครบ จำนวน รพ.สต. ทั่วประเทศซึ่งมี = 9,750 แห่ง วิเคราะห์ผลการประเมินฯในแต่ละด้านและเข้าช่วยเหลือ/พัฒนา อำเภอที่ ยังไม่ผ่านเกณฑ์

ตามนโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน แนวทางการดำเนินงาน ตามนโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2555 ด้านสื่อสารและพัฒนาความสัมพันธ์กับเครือข่าย :พื้นที่จะต้องตระหนักถึงความสำคัญและลงมือดำเนินการด้วยตนเอง รักษาเครือข่ายเดิม (สสอ. สสจ. ผู้สื่อข่าว/สื่อมวลชน) สร้างความสัมพันธ์ เพิ่มกลุ่มเครือข่ายร่วมกระบวนการ(กรมการปกครองฯ /ผู้ว่าราชการจังหวัด/นายอำเภอ/อปท.) สื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจในกรอบแนวคิด เกณฑ์และวีธีประเมินคุณลักษณะ ฯ ประกาศ เชิดชู และให้รางวัล

ด้าน การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ กลไก ความก้าวหน้า และแผนการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปี 54 ปี 53 ปี 55 - 58 สธ. อนุมัติโครงการ/ โอนเงินให้ สสจ. สื่อสาร สนับสนุนอำเภอฯ อบรม SRRT ตำบล (6.9 ล้าน) เป็นตัวชี้วัด“ผู้ว่าฯ” “ผู้ตรวจ คณะที่ 3” “คำรับรองกรม/หน่วยงาน” จัดทำแผนแม่บท 54 - 58 เชิดชู ให้รางวัล 12 -13 กย. 54 ผลักดันเป็นตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานของ ผู้ว่า ฯ และ ผู้ตรวจฯ 2. พัฒนากลไกความร่วมมือ MOU : กรมการปกครองฯ 3. เชิดชู ให้รางวัล กระทรวงฯ ประกาศนโยบาย 16 กย.53 อิมแพ็ค เมืองทอง MOU : ปลัดกระทรวง อธิบดี คร. นายก อบต.แห่งประเทศไทย ด้านนโยบาย สื่อสาร ระดมความคิดเครือข่ายหลัก : สสจ. (ผชชว. กลุ่ม คร./ระบาด) อำเภอ (รพช./สสอ.) ตำบล (รพสต./สอ.) สื่อมวลชน 2. พัฒนา หลักสูตรฯ คู่มือ เกณฑ์ แนวทางการประเมินฯ อบรม “หลักสูตร SRRT ตำบล (ครู ก) ” ให้ สคร. สสจ สสอ. สสจ.+สคร. อบรม SRRT ตำบล 4,666 แห่ง (ม.ค. – ก.พ.) จากทั้งหมด 9,750 แห่ง สคร. สื่อสาร แนวทางและการประเมินผลฯ สัมมนา 4 ภาค (กพ.- มีค. ขอนแก่น / นครนายก/ เชียงใหม่/ นครศรีธรรมราช) ประชุมจังหวัด/ ผู้ตรวจเขตฯ/ เอกสาร 5. สนับสนุน ชุดความรู้ “คู่มือ SRRT ตำบล” อบรม SRRT ตำบล ที่เหลือ 5,084 แห่ง สนับสนุนข้อมูลวิชาการ ชี้เป้าปัญหา มาตรการ คู่มือ แนวทางฯ พัฒนาการกำหนดเกณฑ์และวิธีประเมินคุณลักษณะ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เชิงคุณภาพ ประเมินและพัฒนาอำเภอฯให้เข้มแข็ง แบบยั่งยืน ด้านวิชาการ สคร. ประสาน ดำเนินงานกับเครือข่ายหลักในพื้นที่ สนับสนุน ติดตาม ประเมิน อำเภอฯ สะท้อนผลงาน เสนอกรมพัฒนาให้ได้ผลตามเป้าหมาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” คืออะไร ทำอย่างไร ติดตาม สะท้อนผลงาน สร้างการมีส่วนร่วม สื่อสารดำเนินงาน กับเครือข่ายหลัก ในพื้นที่ให้ต่อเนื่อง ด้าน การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์

Health care reform Econimics Politics อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง En & Oc การมีส่วนร่วม En & Oc แผน , ระบบระบาด ทุน ประเมินผล NCD CD including EID 11 June 2004

ขอบคุณครับ 22