Introduction to Epidemiology ระบาดวิทยาการแพทย์
ความหมายและที่มา Epidemic หมายถึง “โรคระบาด” Logy หมายถึง Study ระบาดวิทยาจึงหมายถึง “การศึกษาการเกิดโรคระบาด” ในอดีต ระบาดวิทยามีจุดมุ่งหมายเพื่อควบคุมและป้องกันการเกิดโรคระบาดเป็นส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ระบาดวิทยาไม่ได้จำกัดขอบเขตของการศึกษาอยู่แต่เฉพาะโรคระบาดเท่านั้น แต่ขยายขอบเขตออกไปศึกษาโรคอื่นๆ ตลอดจนปัญหาสาธารณสุขที่ไม่ใช่ “โรค” เช่น การบาดเจ็บหรืออุบัติภัย ระบาดวิทยาไม่ใช่ “สาขาวิชา” แต่เป็น “เครื่องมือ”ที่ใช้ในการศึกษาปัญหาสาธารณสุข
นิยาม ระบาดวิทยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษาหรือกล่าวถึงการกระจายของโรคในประชากร โดยดูถึงอิทธิพล หรือปัจจัยสาเหตุที่ทำให้เกิดการกระจายตัวแบบนั้น ระบาดวิทยามีรากฐานมาจากความจริงที่พบว่า โรค หรือความเจ็บป่วย ไม่ได้เกิดขึ้นกับคนทุกๆคน ด้วยโอกาสที่เท่าๆกัน แต่คนบางคนจะมีลักษณะบางอย่างที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคมากกว่าคนอื่นๆ โดยลักษณะดังกล่าวอาจมาจากพันธุกรรม หรือเป็นผลจากการสัมผัสต่อปัจจัยบางอย่างในสิ่งแวดล้อม
บทบาทของระบาดวิทยากับการศึกษาโรค การศึกษาระบาดวิทยา มีลักษณะเหมือนกับการศึกษาชนิดอื่นๆ ที่ศึกษาในเรื่องโรค ซึ่งอาจแบ่งได้เป็น 4 ระดับ ได้แก่ Sub-molecular หรือ Molecular level Tissue หรือ Organ level Individual level Population level
Classification มีผู้จำแนกระบาดวิทยาออกเป็น “Classical” และ “Clinical epidemiology” ดังนี้ Classical (Traditional) epidemiology หรือ “The big E Epidemiology” Clinical epidemiology
บทบาทของระบาดวิทยาต่อวิทยาศาสตร์การแพทย์และการสาธารณสุข การเรียนรู้เกี่ยวกับ Natural History หรือ Clinical Picture การสอบสวนวิธีการติดต่อ (Mode of Transmission) การค้นหาสาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงของโรค การป้องกันโรค การตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพอนามัย การศึกษาขอบเขตของปัญหาในประชากร การวางแผนงานและนโยบายด้านสาธารณสุข การตัดสินคดีความในศาล
The Epidemiology Approach ระบาดวิทยาเชิงพรรณนา ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ ระบาดวิทยาเชิงปฎิบัติการ
บทบาทของระบาดวิทยาและ Clinical Practice การวิเคราะห์โรค การหาสาเหตุของโรค การพยากรณ์โรค การศึกษาผลของการรักษา การวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจเลือกการรักษา
Thank you