นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
สาขาทารกแรกเกิดและสูติกรรม
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คอนสาย-ค้อใหญ่
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายสืบพงษ์ ไชยพรรค ผู้อำนวยการกองแผนงาน
อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ
พ.ศ ลำดับการดำเนินงานในจังหวัดขอนแก่น คณะทำงานชี้แจงในที่ประชุม
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
โรงพยาบาลแก่งคอย ยินดีต้อนรับ.
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
โครงการป้องกันและควบคุมโรค ธาลัสซีเมีย
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
การพัฒนาคุณภาพบริการ
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
แก้ไขปัญหาทารกแรกเกิด นน.<2,500 กรัม อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
ปัจจัยที่มีผลต่อระดับสติปัญญา
มาตรฐาน รพ.สต.สายใยรักแห่งครอบครัว
โดย นางนวลใย วรรณเวช พยาบาลวิชาชีพ 7 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพัทลุง
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
การลงข้อมูลให้สมบูรณ์ และได้แต้ม
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การให้ความรู้/คำแนะนำแก่แม่ขณะตั้งครรภ์ (บันไดขั้นที่ 3)
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
บันได10 ขั้นสู่ความสำเร็จในการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ ( 10 steps )
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับ
การบันทึกข้อมูล กลุ่มวัยเรียน - วัยรุ่น
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
Pass:
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
การดำเนินงาน PMTCT (การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก)
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
การดูแลหญิงตั้งครรภ์แนวใหม่
ผลการ ดำเนินงาน 5.1 โครงการ ส่งเสริมและ ป้องกันปัญหา สุขภาพจิต ต. ค.46- มี. ค.47 เขต 8 และ เขต 9.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
การฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 (กระบวนวิชา ) และ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ คลินิกตรวจครรภ์ ร.พ.มหาราชนครศรีธรรมราช

การประเมินร.พ.ส.ต.สายใยรัก 2556 มาตรฐานโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว การสัมภาษณ์มิสนมแม่ รพ.สต. แบบสัมภาษณ์หญิงตั้งครรภ์

กระบวนการบริการคุณภาพห้องฝากครรภ์ การฝากครรภ์ตามมาตรฐาน 1 .สถานที่ให้บริการและขั้นตอนการให้บริการ การแยกผู้ตั้งครรภ์เสี่ยง

1.สถานที่ให้บริการและขั้นตอนการให้บริการ การแยกผู้ตั้งครรภ์เสี่ยง 1.สถานที่ให้บริการและขั้นตอนการให้บริการ การแยกผู้ตั้งครรภ์เสี่ยง 1.1 สถานที่ ห้องแยกเป็นสัดส่วน 1.2 อุปกรณ์ การให้บริการ เครื่องชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เครื่องวัดความดันโลหิต หูฟัง 1.3 สัดส่วนผู้รับบริการ1:10 ฯลฯ

2.การให้บริการ 2.1ซักประวัติ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต 2.1ซักประวัติ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต และตรวจไข่ขาวและน้ำตาลในปัสสาวะ 2.2 การบริการ ANC คุณภาพตามมาตรฐานและเพิ่มการให้บริการดังต่อไปนี้ -การตรวจMutiple dipstick/urine exam -การตรวจภายใน(PV specculum) -การตรวจอัลตร้าซาวด์ -การให้คำปรึกษาแบบคู่(การตรวจเอดส์สามี)

2.การให้บริการ 2.3ประเมินสุขภาพจิตหญิงตั้งครรภ์ ประเมินแบบเดิม ประเมิน 3 ครั้งเริ่มปี 2557 2.4 มอบสมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก และมีการบันทึกข้อมูลพร้อมอธิบายการใช้สมุดแก่ผู้รับบริการ

2.การให้บริการ 2.5ประเมินภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์โดยใช้เกณฑ์เสี่ยงโดยขอดูในสมุดบันทึกสุขภาพฯ และพบว่ามีภาวะเสี่ยงต้องมีการให้บริการตามมาตรฐานการดูแลภาวะเสี่ยง และหญิงตั้งครรภ์ได้รับคำแนะนำเรื่องที่ต้องมาพบแพทย์

2.การให้บริการ -ภาวะซีด (CBC,Hct) -VDRL , HBsAg, HIV ( เอดส์) 2.6 การตรวจทางห้องปฎิบัติการโดยสมัครใจ และแจ้งผลเลือดแก่หญิงตั้งครรภ์/สามี พร้อมทั้งให้การปรึกษาแนะนำ -ภาวะซีด (CBC,Hct) -VDRL , HBsAg, HIV ( เอดส์) -Blood gr Rh, ธาลัสซีเมีย -ปัสสาวะ Albumin และ Sugar

2.การให้บริการ 2.7 จ่ายยาเสริมวิตามินและแร่ธาตุแก่หญิงตั้งครรภ์ และแนะนำ -โฟลิค แอสิด -วิตามินเสริมธาตุเหล็ก -ไอโอดีน -แคลเซียม (จ่ายยาเม็ดธาตุเหล็กเสริมไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์จนถึง หญิงหลังคลอดที่ให้นมบุตร0-6 เดือน)

2.การให้บริการ 2.8 ฉีดวัคซีนบาดทะยัก(คอตีบ+บาดทะยัก)ตามมาตรฐาน 2.9 แก้ไขปัญหาหญิงตั้งครรภ์ที่น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์/แก้ไขปัญหาหญิงตั้งครรภ์ที่น้ำหนักเกินกว่าเกณฑ์โดยใช้เส้นทางลูกรัก

2.การให้บริการ 2.10 หญิงตั้งครรภ์ปกติพบแพทย์ อย่างน้อย 1 ครั้ง 2.11 การดูแลและส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อน 2.12 การตรวจเต้านม+หัวนมเพื่อการเตรียมให้นมบุตร 2.13 มาตรฐานการตรวจ และประเมินอายุครรภ์ 2.14 มีการบริการตรวจสุขภาพ และรักษาหรือส่งต่อเมื่อพบปัญหา -ได้รับการตรวจฟันอย่างน้อย 1 ครั้ง - ได้รับการรักษาหรือส่งต่อ

3. ความรู้การดูแลขณะตั้งครรภ์ 3.1 ความรู้ของเจ้าหน้าที่(ความสำคัญของการตรวจ) -กาตรวจMutiple dipstick/urine exam -การตรวจอัลตร้าซาวด์ -การตรวจภายใน(PV specculum)

3. ความรู้การดูแลขณะตั้งครรภ์ 3.2 การให้ความรู้ตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ -มีสถานที่ให้ความรู้ -มีอุปกรณ์ สื่อการสอน สอดคล้องกับอายุครรภ์ -รูปแบบการให้ความรู้เป็นแบบหญิงตั้งครรภ์และสามี/ญาติมีส่วนร่วม สามี/ญาติมีส่วนร่วม 30 เปอร์เซ็นต์ 3.3 ความรู้ของผู้รับบริการ

4.ข้อมูลและสถานการณ์อนามัยแม่และเด็ก 4.1 มีแบบฟอร์มการเก็บข้อมูล เช่น ANCคุณภาพ รายงานเฉพาะกิจ รายงานสถานการณ์อนามัยแม่และเด็ก 4.2 มีการนำข้อมูลหรือตัวชี้วัดสำคัญของหน่วยงานมาใช้เฝ้าระวังหรือวิเคราะงานเพื่อปรับปรุงพัฒนางาน

ขอบคุณค่ะ สำหรับการตั้งใจฟัง