การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ มีการประชาสัมพันธ์แก่บุคลากรในรพ. และผู้ป่วย ๏ ประชาสัมพันธ์ผ่านทาง DIS News ในเรื่อง - Flow ในการรายงาน (ม.ค.2551) - ความหมาย ADR (ก.พ.2551) - การประเมินระดับความน่าจะเป็นของ ADR (ก.พ.2551) - ADRที่พบบ่อยในโรงพยาบาล(ก.พ.2551)
การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ ๏ ประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสาย ให้ผู้ป่วย แจ้งประวัติการแพ้ยาแก่พยาบาล แพทย์ และเภสัชกร ๏ ป้ายเตือน ADR - หน้าห้องตรวจ/หอผู้ป่วย ๏ ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับความหมายของ “ปก OPD card สีชมพู” ให้แพทย์ทราบ อย่างทั่วถึง
การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ ๏ พยาบาล เมื่อมีการบริหารยาแก่ผู้ป่วย ผู้ป่วย ER/ การให้ยา pre-op ในวิสัญญี/ การให้ยา Stat dose ใน ward ให้ถามประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยทุกราย กรณีที่ 1 ผู้ป่วยรู้สึกตัว ถามผู้ป่วย กรณีที่ 2 ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ถามญาติหรือโทร. ประสานห้องจ่ายยา หรือดูข้อมูลจาก computer
การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ กรณียาที่ติด SMP (Safety Monitoring Program) 1. Sticker ยา ระบุ “(SMP)” หลังชื่อยา 2. IPD - เภสัชกรเฝ้าระวังตามระบบการติดตาม ADR พร้อมทั้งมี Note เตือนใน Lock ยาของ ผู้ป่วย โดยประสานกับพยาบาล ส่วนผู้ป่วย D/C ดำเนินการเช่นเดียวกับ OPD 3. OPD- เภสัชกรแนะนำผู้ป่วยพร้อมแนบ ไปรษณียบัตรเพื่อให้แจ้ง ADR ส่งมายัง กลุ่มงานเภสัชกรรม
การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ ขอความร่วมมือพยาบาลเพื่อแจ้งการแพ้ยาที่ ห้องจ่ายยาเพื่อจะได้ลงข้อมูลในคอมพิวเตอร์ Flow การแจ้ง ADR ของผู้ป่วยตาม DIS NEWS ฉบับประจำเดือน มกราคม 2551