ความคาดหวังของการส่งเสริมวินัยและจริยธรรมข้าราชการ กรมอนามัย ความคาดหวังของการส่งเสริมวินัยและจริยธรรมข้าราชการ กรมอนามัย การประชุมเชิงปฎิบัตการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และการป้องกันการกระทำผิดวินัยและการทุจริต ปี งบประมาณ 2554 เรื่อง”มุมมองใหม่ในการส่งเสริมวินัยและจริยธรรม 29-30 มิ.ย.54 ณ โรงแรมทีเค พาเลซ กทม. แพทย์หญิงนันทา อ่วมกุล ประธานคณะกรรมการจริยธรรม กรมอนามัย
จริยธรรมข้าราชการพลเรือน : กรมอนามัย มาตรฐานจริยธรรมกลาง/ค่านิยมหลัก ๙ ประการ มาตรฐานจริยธรรมข้าราชการพลเรือน ๑๐ ข้อ สถานการณ์ปัจจุบันของกรมอนามัย แลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ได้ผล ความคาดหวัง
(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน) มาตรฐานทางจริยธรรมกลาง หรือค่านิยมหลัก (Core Value) สำหรับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ของรัฐ (กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน) มิติด้านประโยชน์สุขของชาติบ้านเมือง ๘. การยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นปะมุข ๓. การยึดถือประโยชน์ของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน และไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน มิติด้านประโยชน์สุขของประชาชน ๕. การให้บริการแก่ประชาชนด้วยความ รวดเร็ว มีอัธยาศัย และไม่เลือกปฏิบัติ ๖. การให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง มิติด้านจริยธรรม ๑. การยึดมั่นในคุณธรรม และ จริยธรรม ๒. การมีจิตสำนึกที่ดี ซื่อสัตย์ สุจริต และรับผิดชอบ ๔. การยืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นธรรม และถูกกฎหมาย มิติด้านจริยธรรมวิชาชีพและวัฒนธรรมองค์กร ๗. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษามาตรฐาน มีคุณภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ ๙. การยึดมั่นในหลักจรรยาวิชาชีพขององค์กร
ค่านิยมหลัก ๙ ประการ จริยธรรมข้าราชการพลเรือน ๑๐ ข้อ ๑. การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม ๒. การมีจิตสำนึกที่ดี ซื่อสัตย์ สุจริต และรับผิดชอบ ๓. การยึดถือประโยชน์ของ ประเทศชาติเหนือกว่า ประโยชน์ส่วนตน และไม่มี ผลประโยชน์ทับซ้อน ต้องยึดมั่นในจริยธรรมและยืนหยัดกระทำในสิ่งที่ถูกต้องและเป็นธรรม ต้องมีจิตสำนึกที่ดีและรับผิดชอบต่อหน้าที่ เสียสละ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรวดเร็ว โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ ๓. ต้องแยกเรื่องส่วนตัวออกจาก ตำแหน่งหน้าที่และยึดถือประโยชน์ส่วนรวมของประเทศ ชาติเหนือกว่าประโยชน์ ส่วนตน ๔. ต้องละเว้นจากการแสวงหา ประโยชน์ที่มิชอบ โดยอาศัย ตำแหน่งหน้าที่ และไม่กระทำการอันเป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม
ค่านิยมหลัก ๙ ประการ จริยธรรมข้าราชการพลเรือน ๑๐ ข้อ ๔. การยืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นธรรม และถูกกฎหมาย ๕. การให้บริการแก่ประชาชนด้วย ความรวดเร็ว มีอัธยาศัย และไม่ เลือกปฏิบัติ ๖. การให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง ๕. ต้องเคารพ และปฏิบัติตาม รัฐธรรมนูญ และ กฎหมาย อย่างตรงไปตรงมา ๖. ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเที่ยง ธรรม เป็นกลางทางการเมือง ให้ บริการแก่ ปชช. โดยมีอัธยาศัยที่ดี และไม่เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม ต้องปฏิบัติตาม ก.ม. ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของทางราชการ อย่างเคร่งครัดและรวดเร็ว ไม่ถ่วงเวลาให้เนิ่นช้า และใช้ ข้อมูลข่าวสารที่ได้มาจากการ ดำเนินงานเพื่อการในหน้าที่ และให้ข้อมูลข่าวสารแก่ ปชช. อย่างครบถ้วน ถูกต้อง ทันการณ์ และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง
ค่านิยมหลัก ๙ ประการ จริยธรรมข้าราชการพลเรือน ๑๐ ข้อ ๗. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษามาตรฐาน มีคุณภาพ โปร่งใสและตรวจสอบได้ ๘. การยึดมั่นในระบอบ ประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข ๙. การยึดมั่นในหลักจรรยาวิชาชีพขององค์กร ต้องมีจิตสำนึกที่ดีและรับผิดชอบต่อหน้าที่ เสียสละ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรวดเร็ว โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ ๙. ต้องยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๘. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษา คุณภาพและมาตรฐานแห่ง วิชาชีพโดยเคร่งครัด ๑๐. ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการดำรง ตน รักษาชื่อเสียงและ ภาพลักษณ์ของราชการโดยรวม
สถานการณ์ปัจจุบันจากรายงาน ไม่มีรายงานการฝ่าฝืนจริยธรรมตามความในหมวด ๒ (จริยธรรมข้าราชการพลเรือน) ของประมวลจริยธรรม
สถานการณ์ปัจจุบันจากการสำรวจแบบเร่งด่วน ยังไม่มี เริ่มต้น พอใช้ ดี ดีมาก เป็นแบบอย่าง ไม่แน่ใจ ๑. K ๒.๑ P ๒.๒ P ๒.๓ P ๒.๔ P ๒.๕ P ๒.๖ P ๒.๗ P ๒.๘ P ๒.๙ P ๒.๑๐ P ๒. รวม P
สถานการณ์ปัจจุบันจากการสำรวจแบบเร่งด่วน ยังไม่มี เริ่มต้น พอใช้ ดี ดีมาก เป็นแบบอย่าง ไม่แน่ใจ ๓.๑ R ๓.๒ R ๓.๓ D ๓.๔ D ๓.๕ D ๓.๖ D
แลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ได้ผล กิจกรรมกลุ่ม – แต่ละคนตอบคำถามในแบบสอบถามและจับคู่ลปรร กิจกรรมกลุ่มใหญ่ – นำเสนอแนวปฏิบัติตัวอย่าง
ตัวอย่างแนวปฏิบัติ การเป็นแบบอย่างของผู้นำ การสร้างบรรยากาศการทำงานที่เป็นมิตร และปลอดภัย การเปิดโอกาสให้ทุกคน “อยู่รอด อยู่ร่วม และอยู่อย่างมีความหมาย” การส่งเสริมการใช้หลักคำสอนของศาสนาที่แต่ละคนนับถือ การปฏิบัติตามกฏหมายและระเบียบปฏิบัติ ตลอดจนมติและข้อตกลงร่วมกัน เน้นความโปร่งใส
ฐานกาย อยู่รอด ฐานใจ อยู่ร่วม ฐานคิด จิตวิญญาณ อยู่อย่างมีความหมาย
พรหมวิหาร๔ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
ฆราวาสธรรม สัจจะ ทมะ ขันติ จาคะ
ทฤษฎี ยู ของ ออตโต ชาร์เมอร์
ต่อยอดความดีด้วย KM และ AI สุนทรียปรัศนีย์ AI Discovery ค้นหา Dream ทอฝัน Design ออกแบบ Destiny สร้างสรรค์ Knowledge Management (KM) Appreciative Inquiry (AI)
ความคาดหวัง ตั้งเป้าหมายระดับความสำเร็จเพิ่มจากปัจจุบันอย่างน้อยหนึ่งระดับ ทบทวนตนเอง ร่วมทบวนระบบในหน่วยงาน เรียนรู้จากประสบการณ์ที่หลากหลายและเลือกใช้ให้เหมาะกับบริบทตนเองและหน่วยงาน ปฏิบัติเองก่อนที่จะคาดหวังให้คนอื่นทำ และมีคุณธรรมไม่ใช่ “คุณ-นะ-ทำ”
สรุป..เราต้องตอบคำถามต่อไปนี้ให้ได้ ทำไมจึงต้องมีเรา จริยธรรมของเราอยู่ระดับใด เราจะไปถึงระดับใด เพราะอะไร จะไปสู่เป้าหมายได้อย่างไร
สวัสดี