ความหมายของเครื่องปรับอากาศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนเซนต์หลุยส์ศึกษา
Advertisements

PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
ห้องน้ำ/ห้องส้วม/ที่ปัสสาวะ
ห้องปฏิบัติการต่างๆ.
Air Condition Efficiency Meter เครื่องวัดประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศ
การอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการ
บทเรียนการ์ตูน ชุดไฟฟ้าในบ้าน
การปฏิบัติการลดการใช้พลังงาน
การอนุรักษ์พลังงานและการประเมินผล
วิธีการช่วยป้องกัน สภาวะโลกร้อน.
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
Management Information System of Air Conditioner Store
การเลือกซื้อสเปคคอม จัดทำโดย นาย ธนวัฒน์ แซ่ลิ้ม ม.4/2 เลขที่ 25
ประชุมคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
การคำนวณหาขนาดของฟิวส์ ใช้สูตร
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
การจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
วิชาการบริหารงานศูนย์สื่อการศึกษา
การขนส่งผักและผลไม้.
ข้อเปรียบเทียบ Monitor 2 แบบ
คณะกรรมการ “รวมพลังศรีปทุมหารสอง”
ระบบทำความเย็นและปรับอากาศ
แนะนำวิธีการลดการใช้พลังงาน
หลักสูตรการอบรมครูผู้ดูแลเด็ก
การล้างตลาดตามหลักสุขาภิบาล
ทีมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 28 สิงหาคม 2552
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
การประหยัดไฟฟ้า และพลังงาน
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
นำเสนอโดย,,, นายสุวิทย์ เมืองวงศ์
ระบบเครื่องปรับอากาศ
สวัสดีค่ะ.
สาระน่ารู้เกี่ยวกับเครื่องปรับอากาศ
เตาไฟฟ้า.
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
กระทะไฟฟ้า                .
เครื่องดูดฝุ่น.
หลอดไฟฟ้า.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้า
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
ลิฟต์.
เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท Notebook
พัดลม.
หม้อสุกี้ไฟฟ้า.
ไดร์เป่าผม.
v v v v อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะและการปั๊มโลหะ
นวัตกรรม ของ งานจ่ายกลาง และงานซ่อมบำรุง ปี 2552
1.ใช้ถ่านไฟฉายที่สามารถบรรจุไฟได้ใหม่
Evaporative Cooling System
วิธีการลดค่าใช้จ่าย มีดังนี้
สื่อการเรียนรู้เรื่อง หยุดโลกร้อนด้วยความพอเพียง
เครื่องสำรองไฟฟ้า(UPS)
ENERGY SAVING BY HEAT PUMP.
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
โครงการประหยัดพลังงานไฟฟ้าแสงสว่างภายในห้องน้ำอาคารบริหาร คณะศิลปศาสตร์ โดย นายวุฒิชัย บุญแท้
มาตรการประหยัดพลังงาน
แผนกลยุทธ์ 5 ด้าน งานซ่อมบำรุง โรงพยาบาลศิริราช
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน เรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ของวัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักร ที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
Junction Box และ การติดเชื้อในระบบน้ำ
วิธีการประหยัดพลังงาน
พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย
งานวิจัย (Thesis Project)
บ้านพลังงานแสงอาทิตย์
ประกาศอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานเรื่อง กำหนดคุณสมบัติ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข วัสดุ อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน.
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 28 สิงหาคม 2552
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหมายของเครื่องปรับอากาศ เครื่องปรับอากาศ หรือเรียกเป็นภาษาพูดว่า แอร์ (อังกฤษ: Air conditioner, aircon) คือเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้สำหรับปรับอุณหภูมิของอากาศในเคหสถาน เพื่อให้มนุษย์ได้อาศัยอยู่ในที่ที่ไม่ร้อนหรือไม่เย็นจนเกินไป หรือใช้รักษาภาวะอากาศให้คงที่

ขนาดของเครื่องปรับอากาศ มีหน่วยเป็น บีทียู ต่อ ชั่วโมง (BTU/hr) (บีทียู เป็นหน่วยของความร้อน) เป็นค่าความสามารถในการลดพลังงานความร้อนของเครื่องปรับอากาศ ค่า EER ย่อมาจาก Energy Efficiency Rating เป็นค่าประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศ โดยจะหาได้จาก ขนาดของเครื่องปรับอากาศ (บีทียู ต่อ ชั่วโมง) หารด้วย กำลังไฟฟ้าที่เครื่องปรับอากาศใช้ (วัตต์)

ประเภทของเครื่องปรับอากาศ แบ่งออกเป็น 6 ชนิด ประเภทของเครื่องปรับอากาศ แบ่งออกเป็น 6 ชนิด 1.แบบติดผนัง เป็นแอร์ที่มีรูปแบบเล็กกะทัดรัด เหมาะสำหรับห้องที่มีพื้นที่น้อย เช่น ห้องนอน ห้องรับแขกขนาดเล็ก

2. แบบตั้งพื้นหรือแขวนเพดาน 2. แบบตั้งพื้นหรือแขวนเพดาน เป็นแอร์ที่เหมาะสำหรับห้องที่มีพื้นที่ตั้งแต่เล็ก เช่น ห้องนอน ไปจนถึงห้องที่มีพื้นที่ขนาดใหญ่ เช่น สำนักงาน ร้านอาหาร ห้องประชุม

3.แบบตู้ตั้ง เป็นแอร์ที่มีลักษณะคล้ายตู้ มีขนาดสูง และมีกำลังลมที่แรง เหมาะกับบริเวณที่มีคนเข้าออกอยู่ตลอดเวลา เช่น ร้านค้า ร้านอาหาร

4.แบบฝังเพดาน เป็นแอร์ที่เน้นความสวยงามโดยการซ่อน หรือฝังอยู่ใต้ฝ้าหรือเพดานห้อง เหมาะกับห้องที่ต้องการเน้นความสวยงาม โดยที่ต้องการให้เห็นตัวคอยล์เย็นน้อยที่สุด

5.แบบหน้าต่าง เป็นแอร์ที่รวมทั้ง คอนเดนซิ่ง ยูนิต และ แฟนคอยล์ ยูนิต อยู่ในเครื่องเดียว ซึ่งสามารถติดตั้งโดยการฝังที่กำแพงห้องได้เลย โดยที่ไม่ต้องเดินท่อน้ำยา ดังนั้นการติดตั้งจึงต้องติดตั้งบริเวณช่องหน้าต่างหรือเจาะช่องที่ผนังแข็งแรง

6.แบบเคลื่อนที่ เป็นแอร์ที่ไม่ต้องทำการติดตั้ง และสามารถเข็นไปใช้ได้ทุกพื้นที่ สามารถเสียบปลั๊กใช้ได้เลย

หลักการทำงาน

การใช้งานเครื่องปรับอากาศ 1. ปรับตั้งอุณหภูมิของห้องให้เหมาะสม ประมาณ 25 ํ C 2. ปิดเครื่องปรับอากาศทุกครั้งที่เลิกใช้งาน 3. อย่านำสิ่งของไปกีดขวางทางลมเข้าและลมออกของ คอนเดนซิ่งยูนิตจะทำให้ เครื่องระบายความร้อนไม่ออกและ ต้องทำงานหนักมากขึ้น ควรเปิดหลอดไฟและอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ภายในห้องเฉพาะเท่าที่จำเป็นต่อการใช้งาน

5. หลีกเลี่ยงการนำเครื่องครัว หรือภาชนะที่มีผิวหน้าร้อน จัด เข้าไปในห้องที่มีการปรับอากาศ 6. ก่อนเปิดเครื่องปรับอากาศสัก 2 ชั่วโมง ควรเปิด ประตูหน้าต่างทิ้งไว้เพื่อให้อากาศบริสุทธิ์ภายนอกเข้าไปแทนที่อากาศเก่าในห้อง 7. ควรปิดประตู หน้าต่างให้สนิทขณะใช้งานเครื่องปรับอากาศ 8. ไม่ควรปลูกต้นไม้ หรือตากผ้าภายในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ

ข้อพิจารณาก่อนการเลือกซื้อเครื่องปรับอากาศ ควรเลือกซื้อเครื่องปรับอากาศจากผู้ผลิตและผู้จำหน่ายที่เชื่อถือได้ ควรเลือกเครื่องปรับอากาศเบอร์ 5 ซึ่งจะมีประสิทธิภาพพลังงาน (EER - Energy Effciency Ratio) สูงกว่า และช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้า ควรเลือกรูปแบบของเครื่องปรับอากาศโดย  คำนึงถึงพื้นที่ที่จะทำการติดตั้ง และความสะดวกในการดูแลรักษา มีมาตรฐานรับรองเช่น มอก. CE JIS ISO เป็นต้น

ขนาดพื้นที่ห้อง (ตร.ม.) ขนาดของเครื่องปรับอากาศ BTU 5. ควรเลือกขนาดของเครื่องปรับอากาศให้เหมาะสมกับห้องที่ต้องการติดตั้ง โดยที่ความสูงของห้องไม่   เกิน 3 เมตร ควรเลือกขนาดตามตารางต่อไปนี้ ขนาดพื้นที่ห้อง (ตร.ม.)  ขนาดของเครื่องปรับอากาศ BTU  13 - 14  7,000 - 9,000  16 - 17  9,000 - 12,000  20  11,000 - 13,000  23 - 24  13,000 - 16,000  30  18,000 - 20,000  40  24,000 

การบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศจะทำให้เกิดประโยชน์ 1. จะทำให้เกิดการประหยัดพลังงาน ประหยัดค่า กระแสไฟฟ้า ประหยัดค่าซ่อมบำรุง และยืดอายุการทำงาน ของเครื่อง 2. จะทำให้เกิดความปลอดภัยต่อสุขภาพอนามัยของผู้ใช้และผู้อยู่อาศัย

การบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศทุก ๆ 2 สัปดาห์ หมั่นทำความสะอาดแผงท่อทำความเย็นด้วยแปรงนิ่ม ๆ และน้ำผสมสบู่เหลว อย่างอ่อนทุก 6 เดือน ทำความสะอาดพัดลมส่งลมเย็นด้วยแปรงขนาดเล็ก เพื่อขจัดฝุ่นละอองที่จับ กันเป็นแผ่นแข็งและติดกันอยู่ตามซี่ใบพัดทุก6 เดือน จะทำให้พัดลมส่งลมได้เต็มสมรรถนะ ตลอดเวลา

4. ทำความสะอาดแผงท่อระบายความร้อน โดยการใช้เแปรง นิ่ม ๆ และน้ำฉีด ล้างทุก ๆ 6 เดือน เพื่อให้เครื่องสามารถนำความร้อนภายในห้องออกไปทิ้งให้แก่อากาศ ภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. หากปรากฏว่าเครื่องไม่เย็นเพราะสารทำความเย็นรั่วต้องรีบตรวจหารอยรั่วแล้ว ทำการแก้ไขพร้อมเติมให้เต็มโดยเร็ว 6. ตรวจสอบฉนวนหุ้มท่อสารทำความเย็นอย่างสม่ำเสมอ อย่าให้เกิดฉีกขาด