นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียนและเยาวชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การสนับสนุนทางวิชาการ ต่อการดำเนินงานของ โรงพยาบาลชุมชน
(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
วิสัยทัศน์ องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี 1.
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดนครนายก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น(SRM)
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
การเชื่อมโยงการส่งเสริมสุขภาพระหว่าง
สวัสดีครับ.
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
โครงการสำคัญตามนโยบาย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ เด็กวัยเรียนและเยาวชน โดย ดร.นายแพทย์สมยศ ดีรัศมี อธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 1 1

นโยบายกระทรวงสาธารณสุข (ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับสุขภาพเด็กและเยาวชนวัยเรียน) รณรงค์ให้เกิดการพัฒนาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอนามัย เช่น อาหารปลอดภัย ส้วมสาธารณะ โดยเฉพาะสำหรับนักเรียน โดยประสานความร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการ ข้อ 8 2 2

3 3

ความร่วมมือระหว่าง กรมอนามัยกับสพฐ. 4 4

5 5

1. เป้าหมาย - พัฒนาให้โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร  HPS ระดับเพชรเป็นศูนย์การเรียนรู้ 36 แห่ง  สพฐ.ขยายสู่โรงเรียนในฝัน เขตพื้นที่ การศึกษาละ 1 ร.ร. รวม 185 เขต

1. เป้าหมาย (ต่อ) พัฒนาให้ได้ผลลัพธ์ ในนักเรียน และสิ่งแวดล้อม พัฒนาให้ได้ผลลัพธ์ ในนักเรียน และสิ่งแวดล้อม เฝ้าระวังเด็กวัยเรียนไม่ให้มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัย อันควร เพื่อลดปัญหาการคลอดบุตรก่อนอายุ 20 ปี ส่งเสริม สนับสนุนให้ ร.ร.จัดกิจกรรมแปรงฟัน หลังอาหารกลางวันเพื่อให้นักเรียนอายุ 12 ปี มีฟันผุ ไม่เกินร้อยละ 45 ส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กอายุ 6 - 18 ปี มีภาวะ โภชนาการดี โดยมีส่วนสูงตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 83 และรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 76 ส้วมได้มาตรฐาน (ร้อยละ 60)

1. เป้าหมาย (ต่อ) ร่วมกันพัฒนา สนับสนุนให้โรงเรียนสังกัดสำนักงานบริหาร งานการศึกษาพิเศษทุกโรงเรียน (ร.ร.เฉพาะความพิการ 43 ร.ร., ร.ร.ศึกษาสงเคราะห์ 49 ร.ร. และร.ร.ในสังกัด สพฐ. ในถิ่นทุรกันดารตามแผนกพด. 178 ร.ร.) พัฒนาเข้าสู่โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โดยกรมอนามัยเป็นผู้สนับสนุนทางด้านวิชาการ

2. ข้อมูลการเฝ้าระวัง พัฒนาระบบเฝ้าระวังและข้อมูล สารสนเทศด้านสุขภาพร่วมกัน โดย สนับสนุนให้โรงเรียนสำรวจภาวะสุขภาพนักเรียนตามแบบ GSHS ของ WHO เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการเฝ้าระวังและจัดทำแผนงาน/โครงการต่างๆ ด้านสุขภาพในการแก้ไขปัญหา พัฒนาโปรแกรม Smith ให้สามารถประเมินภาวะโภชนาการของนักเรียนตามเกณฑ์กรมอนามัย

3. กลยุทธ์ในการดำเนินงาน - มีนโยบายให้โรงเรียนเป็นโรงเรียนปลอดน้ำอัดลม มีน้ำสะอาดบริโภค และ ลดการบริโภคขนมกรุบกรอบ - สนับสนุนให้มีชมรมสุขภาพ เช่น ชมรมเด็กไทยทำได้, อย.น้อย,To be number one ฯลฯ และมีการจัดกิจกรรม/โครงงานสุขภาพ เพื่อแก้ไขปัญหาในโรงเรียน - สนับสนุนให้โรงเรียนเข้าร่วมประกวดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร, คู่หูโรงเรียนส่งเสริมทันตสุขภาพ, ส้วมในโรงเรียน และโรงอาหารในโรงเรียน - ร่วมจัดประชุมโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ

4. การติดตามและประเมินผล มีคณะกรรมการบูรณาการงาน นิเทศติดตาม ประเมินผล ร่วมกันระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการในทุกระดับ

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สนง.คณะกรรมการอาหารและยา พันธมิตรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสุขภาพนักเรียน กระทรวงสาธารณสุข กรมอนามัย โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เด็กไทยทำได้ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สุขบัญญัติแห่งชาติ สนง.คณะกรรมการอาหารและยา อย.น้อย กรมควบคุมโรค โรคหนอนพยาธิ โรคมาลาเรีย ไข้เลือดออก EPI Aids โรคระบาด โรคติดเชื้อในโรงเรียน กรมสุขภาพจิต สุขภาพจิตในโรงเรียน IQ, EQ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน To be No. 1 กรมการแพทย์ ค่าปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเยาวชนติดยาเสพติด

วิเคราะห์งานสุขภาพในโรงเรียน จุดแข็ง มีการเรียนการสอนด้านสุขภาพในหลักสูตรการเรียน มีนโยบายสนับสนุนจากกศษ./กสธ. จุดอ่อน สุขภาพนักเรียนถูกจัดลำดับความสำคัญไว้ในระดับต่ำ ข้อจำกัดของบุคลากร : ครูอนามัย จนท.สธ.ฯลฯ ข้อจำกัดทรัยากร : งปม. สื่อ อุปกรณ์ ฯลฯ

วิเคราะห์งานสุขภาพในโรงเรียน โอกาส มีหน่วยงานร่วมเป็นพันธมิตรด้านสุขภาพมาก มีบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่สมดุล อุปสรรค เผชิญกับโรคใหม่ ๆ สภาพสังคมเปลี่ยนแปลงทำให้เพิ่มพฤติกรรมเสี่ยง

แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ภายในปี พ.ศ. 2554 เด็กไทยทำได้ สภาเด็กและเยาวชน เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นมีความตระหนัก ความรู้ และทักษะชีวิตด้านส่งเสริมสุขภาพ เป็นบุคคลต้นแบบเด็กไทยทำได้ KPI : เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นเป็นต้นแบบ ด้านสุขภาพ ครอบครัวมีการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ จัดตั้งแกนนำ/เครือข่ายครอบครัว KPI: แกนนำ/เครือข่ายครอบครัวสามารถทำบทบาทการเฝ้าระวังพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมในครอบครัวและชุมชน เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น มีศักยภาพ จัดตั้งชมรม/แกนนำ/เครือข่าย/ศูนย์เรียนรู้ KPI : แกนนำเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ ประชาชน (Valuation) ชุมชนมีแผนงาน/โครงการและนวัตกรรม ส่งเสริมให้มีระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ KPI : มีแผนชุมชน/นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น รร.ระดับเพชร สถานศึกษาพัฒนาศักยภาพ สร้างองค์กรต้นแบบ KPI: มีโรงเรียนต้นแบบ อปท.มีส่วนร่วมและสนับสนุน มีแผนพัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นแบบบูรณาการ KPI:อปท.บรรจุแผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นในแผนพัฒนาท้องถิ่น ภาครัฐ/เอกชนสนับสนุน บูรณาการงานร่วมกัน ภาคี เครือข่าย (Stakeholder) สธ.สนับสนุนวิชาการและบริการสุขภาพ มีสถานบริการสุขภาพต้นแบบ KPI: มีสถานบริการที่ให้บริการที่เป็นมิตรแก่เด็กวัยเรียน และวัยรุ่น RH Clinic แผน RH จังหวัด มีระบบกำกับติดตามและประเมินผล พัฒนาระบบกำกับติดตาม ระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาสื่อบุคคล KPI: มีสื่อความรู้ที่เหมาะสมกับพื้นที่ กระบวน การ (Management) มีการบริหารจัดการ ภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ สร้างการมีส่วนร่วม KPI: ภาคีเครือข่ายสามารถจัดทำกิจกรรม/โครงการฯ มีการพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ มีการจัดการความรู้ KPI: มีองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สอดคล้อง กับสภาพพื้นที่ GSHS ทันตะ โภชนาการ สมรรถนะและทักษะบุคลากรเป็นมืออาชีพ ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง KPI: มีแผนพัฒนาบุคลากรตามประเด็นสมรรถนะที่เป็นปัญหาต่อการปฏิบัติงาน มีวัฒนธรรมองค์กที่เอื้ออำนวย สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน KPI: มีสถานที่ทำงานตามเกณฑ์มาตรฐาน มีระบบข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพที่ทันสมัย KPI: มีฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบันและถูกต้อง พื้นฐาน (Learning / Development)

กลยุทธ์การดำเนินงาน 1. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ภาคส่วนต่าง ๆ ในการสนับสนุนโรงเรียน 2. สร้างกระแส รณรงค์ สร้างเครือข่าย ส่งเสริม ให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และพัฒนานวัตกรรมด้านสุขภาพ 3. บูรณาการงานด้านสุขภาพในโรงเรียนภาย ใต้โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 4. ดำเนินโครงการและกิจกรรมตามองค์ประกอบ/มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 16 16

โครงการสำคัญที่ดำเนินการ 1. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ : เพชร ทอง ฯลฯ 2. เด็กไทยทำได้ในHPS : อาหารสะอาดปลอดภัย สุขาน่าใช้ เด็กไทยฟันดี ฯลฯ 3. การส่งเสริมโภชนาการและสุขอนามัยเด็กและเยาวชน ในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริฯ : ร.ร.ตชด., ศศช., ร.ร.สพฐ.ทุรกันดาร, ร.ร.พระปริยัติธรรม, ร.ร.เอกชนสอนศาสนาอิสลาม, ศูนย์ ฯ เตาะแตะ ฯลฯ 17

โครงการสำคัญที่ดำเนินการ (ต่อ) 4. การพัฒนางานด้านสุขภาพนักเรียนในสังกัดการศึกษาพิเศษ : ร.ร. เฉพาะความพิการ (ตาบอด หูหนวก ปัญญาอ่อน) และ ร.ร.ศึกษาสงเคราะห์ / ราชประชานุเคราะห์ 5. การดูแลสุขภาพนักเรียนตามพระราชดำริฯ : สนับสนุนแบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วยตนเองสำหรับ น.ร. (ในโครงการตรวจราชการแบบบูรณาการ สำนักตรวจราชการกสธ.) 18

"ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี" กรมอนามัย "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"