แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสุขภาพชุมชน 10 มิถุนายน 2555.
Advertisements

เครื่องรับโทรทัศน์ระบบดิจิตอลทีวี
(ร่าง) แผนรองรับการส่งต่อผู้ป่วยออกจากกรุงเทพมหานคร กรณีที่ตั้งรพ
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
กรอบนโยบาย แผนงาน/โครงการที่จะดำเนินการ
สรุปการรับบุคคลเข้าศึกษา หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ประจำปีการศึกษา 2555
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การแบ่งงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ
ผู้ประสานงานประจำศูนย์อบรม โครงการต้นกล้าฯ ศูนย์จังหวัดนครศรีธรรมราช
แนวทางการดำเนินงานโครงการ SMART FARMER & SMART OFFICER
กิจกรรม กำหนดการดำเนินงาน ต. ค. ๒๕ ๕๒ พ. ย. ๒๕ ๕๒ ธ. ค. ๒๕ ๕๒ ม. ค. ๒๕ ๕๓ ก. พ. ๒๕ ๕๓ มี. ค. ๒๕ ๕๓ เม. ย. ๒๕ ๕๓ พ. ค. ๒๕ ๕๓ มิ. ย. ๒๕ ๕๓ ก. ค. ๒๕ ๕๓ ส.
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานระดับกลุ่มจังหวัดและระดับจังหวัด
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
แนวทางการประเมินมาตรฐาน การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การกระจายตัวของสถานบริการสาธารณสุข(สป.)
การบริหารราชการ แบบกลุ่มจังหวัด
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
สำนักวิชาการและแผนงาน
สำนักวิชาการและ แผนงาน. 2 ภาค / จังหวัด ไม่เข้าสู่กระบวนการ ใช้ประโยชน์ผิด วัตถุประสงค์ แผน ผลงาน แจ้ง เตือน ร้อยละแผน ผลงาน แจ้ง เตือน ร้อยละ รวมทั้งสิ้น.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
Skype (สไคป์) เป็นโปรแกรมที่ใช้ติดต่อสื่อสารผ่านระบบอินเทอร์เน็ตด้วยภาพและเสียง สามารถ Download โปรแกรม Skype ได้ที่
ผลการตรวจสอบที่พักและรีสอร์ท ในเขตปฏิรูปที่ดิน
ข้อมูล ณ วันที่ 16 ธันวาคม กิจกรรมจังหวัดที่ Key in แผนงาน ไม่ถูกต้องหรือยังไม่ Key in ( เป็นครั้ง ที่ 2) 1. การจัดที่ดินเกษตรกรรม (472,500 ไร่
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
สรุปผลการปิดอำเภอ ปีงบประมาณ 2555 ศสท. สผส. สวผ..
แผนปฏิบัติการสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัด พื้นที่ X-RAY ประจำปีงบประมาณ 2556 งาน / โครงการ / กิจกรรม จำนว น ช่าง สำรว จ จำนว น กล้อ ง ( เครื่ อง ) เพิ่ม.
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
แนวทางการประชุมกลุ่ม
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลงาน ราย ผลงาน >20 ราย 13 จว. 16 แห่ง ขอนแก่น แพร่ นนทบุรี เชียงราย ลำปาง ปทุมธานี สระบุรี อ่างทอง สงขลา สุราษฎร์ ธานี ภูเก็ต หน่วยที่มี ผลงาน.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
สรุปผลงานตามตัวชี้วัด ร้อยละ รพ.สต.ที่ดำเนินงาน คบส. ประจำปี 2555
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ไพรินทร์ บุตรแสนลี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาเขตสุขภาพ
นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ( ฉบับที่ 3) ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 29 ธันวาคม.
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
Internet เขต 1 ปทุมธานี ปทุมธานี นนทบุรี อยุธยา สระบุรี เขต 2 สุพรรณ สุพรรณบุรี นครปฐม 4261-
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ความสุขคนไทย” ระหว่างวันที่ กันยายน 2554.
โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
1 ประกาศคณะกรรมการกํากับ กิจการพลังงาน เรื่อง การแบงเขตพื้นที่ผูใช พลังงาน พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 14 มกราคม 2553.
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
แนวทางพัฒนา ระบบบริการสุขภาพที่ 5 สูติกรรม
เริ่ม ออก.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ( ฉบับที่ 7) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 30 พฤศจิกายน 2555.
FCT คปสอ./รพ.สต.ติดดาว ปี ๒๕๕๘ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๗.
สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 15 พฤษภาคม 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
นายชำนาญ ไวแสน นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 1 กันยายน 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Service Plan 10 สาขา ๑) หัวใจและหลอดเลือด Ac. STEMI Ac.Cerebral Infaction ๒) ทารกแรกเกิด ๓) มะเร็ง ๔) อุบัติเหตุ ๕) ๕ สาขาหลัก( อายุรกรรม,ศัลยกรรม,ศัลยกรรมกระดูก,สูตินรีเวชกรรม,กุมารเวชกรรม)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)

ปัญหาระบบบริการสุขภาพของประเทศไทย ประสิทธิภาพ คุณภาพบริการ ความเป็นธรรมในการเข้าถึง บริการ ความแออัดของผู้รับบริการในสถาน บริการระดับสูง การใช้ทรัพยากรที่ไม่เหมาะสม ไม่สอดคล้องกับบทบาท ของสถานพยาบาลในการให้บริการ การแข่งขันขยายบริการและเกิดการจัดสรรทรัพยากรที่มี อยู่อย่างจำกัดโดยขาดการวางแผนการจัดระบบบริการที่ดี ความไม่เป็นธรรมในการพัฒนา

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อกำหนดทิศทางการพัฒนา และออกแบบระบบบริการ ให้มีขีดความสามารถที่จะรองรับความท้าทายในอนาคต 2. เพื่อจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการเป็นเครือข่าย ให้สอดคล้องกับทิศทางดังกล่าว 3. ริเริ่มการขยายสถานบริการที่จำเป็น ปรับปรุง/เสริมสร้างศักยภาพของสถานบริการ ให้เป็นไปตามแผน

กรอบแนวคิด 1. Seamless Health Service Networks การจัดบริการในรูปเครือข่ายแทนการขยายโรงพยาบาลแห่งๆ เชื่อมโยงบริการทั้งปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิโดยไม่มีเส้นแบ่ง 2. Provincial Health Service Network มีเครือข่ายบริการระดับจังหวัดที่สามารถรองรับการส่งต่อตามมาตรฐานระดับจังหวัดอย่างสมบูรณ์ อย่างน้อย 1 เครือข่าย มีคณะกรรมการบริหารเครือข่าย 3. Referral Hospital Cascade ระดับโรงพยาบาลรับผู้ป่วยส่งต่อ ส่งต่อผู้ป่วย 3 ระดับ (ต้น กลาง สูง) ใช้ทรัพยากรภายในเครือข่ายที่มีอย่างจำกัดให้มีประสิทธิภาพสูงสุด หลีกเลี่ยงการลงทุนที่ซ้ำซ้อน และขจัดสภาพการแข่งขันกัน

เครือข่ายบริการระดับจังหวัด Level Referral Advance รพศ. รพ.อุดธานี,สกลนคร High level รพท. Standard รพท.ขนาดเล็ก M1 รพ.กุมภวาปี,สว่งแดนดิน Mid level รพช.ขนาดใหญ่ M2 First level เครือข่ายบริการทุติยภูมิ F1-3 เครือข่ายบริการปฐมภูมิ P1-2 เครือข่ายบริการระดับจังหวัด

ศูนย์การแพทย์ชุมชนเมือง(ศสม.) P1 เป็นสถานบริการผู้ป่วยนอกแบบเบ็ดเสร็จ ให้บริการแบบผสมผสานทั้ง งานส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู ตั้งอยู่ในพื้นที่ชุมชนเมือง มีประชากรในความรับผิดชอบไม่เกิน 30,000 คนต่อแห่ง มีขีดความสามารถด้านเวชปฏิบัติทั่วไป ทันตกรรม เภสัชกรรม ชันสูตร โรค กายภาพบำบัดหรือกิจกรรมบำบัด และการแพทย์แผนไทยหรือ แพทย์ทางเลือก สามารถตรวจรักษาผู้ป่วยนอกทั่วไป ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ตลอดจนกลุ่มที่มีภาวะเสี่ยง มีงานบริการเวชปฏิบัติครอบครัว และงานพัฒนาสุขภาพชุมชน ด้วยการ มี “แพทย์ประจำครอบครัว” ดูแลในมิติของสุขภาพองค์รวม การสร้าง ความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน การสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกโดย ให้ชุมชนมีบทบาทสำคัญ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(รพ.สต.) P2 เป็นสถานบริการระดับปฐมภูมิให้บริการแบบ ผสมผสานทั้งงานส่งเสริม ป้องกัน รักษา และ ฟื้นฟู

โรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็ก (ระดับ F3) First-level Referral Hospital ขนาดเตียง 10 เตียง ที่มีแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป หรือแพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว ไม่จำเป็นต้อง ทำหัตถการ เช่น การผ่าตัดใหญ่ และไม่ จำเป็นต้องจัดบริการผู้ป่วยในเต็มรูปแบบ

โรงพยาบาลชุมชนขนาดกลาง(ระดับ F2) First-level Referral Hospital ขนาดเตียง 30-90 เตียง ที่มีแพทย์เวชปฏิบัติ หรือ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว และจัดบริการตาม มาตรฐานของบริการทุติยภูมิโดยไม่มีแพทย์ เฉพาะทาง

โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ (ระดับ F1) First-level Referral Hospital รพช. ขนาดเตียง 60-120 เตียง ที่มีแพทย์เวช ปฏิบัติ หรือแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว และ แพทย์เฉพาะทางสาขาหลัก (อายุรกรรม ศัลยกรรม สูตินารีเวชกรรม กุมารเวชกรรม ศัลยกรรมกระดูก และวิสัญญีแพทย์) เป็นบาง สาขาเท่าที่มีอยู่ปัจจุบัน

โรงพยาบาลชุมชนเพื่อรับส่งต่อผู้ป่วย(ระดับ M2) Mid-level Referral Hospital หมายถึง รพช. ขนาดเตียง 120 เตียงขึ้นไป ที่มี แพทย์เวชปฏิบัติ หรือแพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว และแพทย์เฉพาะทางครบทั้ง 6 สาขาหลัก (อายุรกรรม ศัลยกรรม สูตินารีเวชกรรม กุมารเวช กรรม ศัลยกรรมกระดูก และวิสัญญีแพทย์) จะต้องมี แพทย์เฉพาะทางครบทุกสาขาหลัก

โรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็ก (ระดับ M1) Mid-level Referral Hospital

โรงพยาบาลทั่วไปขนาดใหญ่ (ระดับ S) Standard-level Referral Hospital เป็นโรงพยาบาลที่มีขีดความสามารถรองรับผู้ป่วยที่ ต้องการการรักษาที่ยุ่งยากซับซ้อนระดับเชี่ยวชาญ เฉพาะ จึงประกอบด้วยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทั้งสาขา หลัก สาขารอง และสาขาย่อยบางสาขา กำหนดให้เป็นโรงพยาบาลรับส่งต่อผู้ป่วยระดับ มาตรฐาน

โรงพยาบาลศูนย์ (ระดับ A) Advance-level Referral Hospital เป็นโรงพยาบาลที่มีขีดความสามารถรองรับผู้ป่วยที่ ต้องการการรักษาที่ยุ่งยากซับซ้อนระดับเชี่ยวชาญและ เทคโนโลยีขั้นสูงและมีราคาแพง (Advance & sophisticate technology) มีภารกิจด้านแพทยศาสตร์ ศึกษาและงานวิจัยทางการแพทย์ จึงประกอบด้วยแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญทั้งสาขาหลัก สาขารอง และสาขาย่อยครบทุก สาขาตามความจำเป็น กำหนดให้เป็นโรงพยาบาลรับส่ง ต่อผู้ป่วยระดับสูง (ระดับ A) พัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญ

๑๒ เขต พื้นที่ P&P ทีม P&P ๑๙ เขต ๑ เขต ๑๒ เขต ๒ เขต ๓ เขต ๑๑ เขต ๔ เขต ๑๐ เขต ๕ เขต ๖ เขต ๙ เขต ๗ เขต ๘ ๑๙

เครือข่ายบริการ 12 เครือข่าย เครือข่ายบริการที่ 1 เชียงราย เชียงใหม่ น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน (8 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 2 ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์ (5 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 3 กำแพงเพชร ชัยนาท พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี (5 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 4 นครนายก นนทบุรี ปทุมธานี อยุธยา สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง (8 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 5 กาญจนบุรี นครปฐม ประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี สมุทรสงคราม เพชรบุรี สมุทรสาคร สุพรรณบุรี (8 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 6 จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด ปราจีนบุรี ระยอง สระแก้ว สมุทรปราการ (8 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด (4 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 8 นครพนม บึงกาฬ เลย สกลนคร หนองคาย หนองบัวลำภู อุดธานี (7 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 9 ชัยภูมิ นครราชสีมา สุรินทร์ บุรีรัมย์ (4 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 10 มุกดาหาร ยโสธร ศรีสะเกษ อุบลราชธานี อำนาจเจริญ (4 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 11 กระบี่ ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ต ระนอง สุราษฎร์ธานี (7 จังหวัด) เครือข่ายบริการที่ 12 ตรัง นราธิวาส ปัตตานี พัทลุง ยะลา สงขลา สตูล (7 จังหวัด) 16

สถานบริการและระดับบริการ จังหวัดอุดรธานี F2 ระดับ จำนวน A 1 M1 M2 2 F1 F2 12 F3 3

เครือข่ายระบบส่งต่อของสถานบริการจังหวัดอุดรธานี F2 อ.นายูง N F2 อ.สร้างคอม อ.น้ำโสม F2 M2 F1 F1 อ.บ้านดุง อ.บ้านผือ อ.เพ็ญ F2 อ.พิบูลย์รักษ์ อ.ทุ่งฝน F2 F2 อ.กุดจับ A อ.หนองหาน อ.เมืองอุดรธานี M2 อ.หนองวัวซอ อ.ประจักษ์ศิลปาคม F2 F3 F3 อ.ไชยวาน F2 อ.หนองแสง อ.กุมภวาปี อ.กู่แก้ว F2 อ.วังสามหมอ M1 F3 อ.ศรีธาตุ F2 อ.โนนสะอาด F2 F2

แผนพัฒนาระบบบริการ (Service Plan) 10 สาขา 1. โรคหัวใจและหลอดเลือด 2. โรคมะเร็ง 3. ทารกแรกเกิด 4. อุบัติเหตุ 5. จิตเวช 6. สูติ/ศัลยกรรม/อายุรกรรม/เด็ก 7. ตาไต 8. Primary Care 9. ทันตกรรม 10. NCD

จัดทำแผนพัฒนาเครือข่ายระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) แผนพัฒนาโครงสร้างระบบบริการ แผนสนับสนุนทรัพยากร แผนพัฒนาคุณภาพบริการ แผนพัฒนาระบบส่งต่อ

สถานบริการและระดับบริการ จังหวัดสกลนคร A M1 M2 F1 F2 F3 ระดับ จำนวน A 1 M1 M2 F1 F2 13 F3

สถานบริการและระดับบริการ จังหวัดนครพนม สกลนคร บึงกาฬ มุกดาหาร สปป.ลาว s M2 F1 F3 F2 ระดับ จำนวน S 1 M2 F1 F2 8 F3

สถานบริการและระดับบริการ จังหวัดเลย S M2 F2 F3 ระดับ จำนวน S 1 M2 F2 11 F3

สถานบริการและระดับบริการ จังหวัดหนองคาย โพนพิสัย เมือง หนองคาย รัตนวาปี เฝ้าไร่ ท่าบ่อ สระใคร สังคม ศรีเชียงใหม่ โพธิ์ตาก M2 S F1 F3 F2 ระดับ จำนวน S 1 M2 F1 F2 2 F3 4

สถานบริการและระดับบริการ จังหวัดหนองบัวลำภู S F2 F1 ระดับ จำนวน S 1 F1 F2 4

สถานบริการและระดับบริการ จังหวัดบึงกาฬ F3 F2 F1 S ระดับ จำนวน S 1 F1 F2 5 F3

สถานบริการ จังหวัด อำเภอ รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. รพ.เอกชน รพ. ทหาร อุดรธานี 20 1 19 209 3 2 สกลนคร 18 16 167 นครพนม 12 11 152 เลย 14 13 127 หนองคาย 9 8 74 หนองบัวลำภู 6 5 83 - บึงกาฬ 7 61 รวม 87 79 873

ศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง(ระดับบริการ) ระดับสถานบริการ จังหวัด ศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง(ระดับบริการ) ตติยภูมิ(แห่ง) NB CA TM Cardiac รพศ.(A) รพท.(S) รพท.(M1) อุดรธานี 2 1 - สกลนคร นครพนม เลย หนองคาย หนองบัวลำภู บึงกาฬ รวม 0/2 1/1 1/0 5