ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 สิงหาคม 2551 สัปดาห์ที่ 32_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 กุมภาพันธ์ 2551 สัปดาห์ ที่ 6_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม – 10 พฤษภาคม 2551 สัปดาห์ที่ 19_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2555 นายแพทย์จิรโรจน์ ธีระเดชธนะพงศ์
กลุ่มโรคติดต่อนำโดยแมลง
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการ 333 ประชาสัมพันธ์ ปราบลูกน้ำยุงลาย มาตรการสกัดกั้นเชื้อ การควบคุมกำกับ ระบบรายงานและฐานข้อมูล การวินิจฉัยโรคที่เที่ยงตรง.
สถานการณ์โรคโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
สรุปผลการสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ไข้เลือดออก.
เป้าหมายในช่วงฤดูการระบาด ลดการตาย เน้นการมี Dengue Corner ในโรงพยาบาล มี Case manager จังหวัดที่มีอัตราผู้ป่วยตายเกิน 0.12 เป็นพื้นที่ที่กระทรวงให้ความสำคัญ.
โรคที่ต้องควบคุมโรคอย่างเร่งด่วน ประจำเดือนตุลาคม 2549 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
นพ.สมจิตร ศรีศุภร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
รายงานการเฝ้าระวังโรคช่วงสถานการณ์อุทกภัย จังหวัดนครปฐม 21 พฤศจิกายน 2554 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ระบาดวิทยาและ SRRT.
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
สิ่งที่เรียนรู้จากการควบคุมโรคไข้เลือดออกในปีที่ผ่านมา
ผู้ป่วยไข้เลือดออกจังหวัด กำแพงเพชร ปี 2556 พบผู้ป่วย 484 ราย อัตราป่วย ต่อแสน พบผู้ป่วย เสียชีวิต 1 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.21 ข้อมูล ณ 23 มิถุนายน.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อำเภอด่านซ้าย
แนวทางรณรงค์ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกของชาติ ด้วยยุทธศาสตร์ “รวมพลัง เอาชนะไข้เลือดออก”
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
สถานการณ์โรคมาลาเรีย
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556

กรอบการดำเนินงานควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2556 การดำเนินงาน/กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ 1.การวิเคราะห์สถานการณ์ ตรวจจับความผิดปกติการระบาดของโรคในพื้นที่ งานระบาดวิทยา 2.การเฝ้าระวังค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย 2 รอบ(สุ่มประเมิน) (เดือน ม.ค.และ มิ.ย.56) งาน คร.และ ศตม.ที่ 6.2 อด. 3.ประเมินมาตรฐานงานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก* (เดือน พ.ค.ถึง ก.ค.56) 4.ติดตาม สนับสนุนการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน (โรคไข้เลือดออก) งาน คร.

กรอบการดำเนินงานควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2556 การดำเนินงาน/กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ 5.สนับสนุนการควบคุมโรคไข้เลือดออก(ตามสถานการณ์) งาน คร.และ ศตม.ที่ 6.2 อด. 6.ประชุม War room ศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ นำโดยแมลงอย่างน้อย 2 ครั้ง งาน คร.และ งาน SRRT 7.ประกาศสงครามต่อสู้โรคไข้เลือดออก (1 ก.พ.56) งาน คร. 8.กิจกรรมวัน ASEAN Denque Day (15 มิ.ย.ของทุกปี)

เกณฑ์และตัวชี้วัด มาตรฐานงานป้องกันและควบคุมโรค. 1 เกณฑ์และตัวชี้วัด มาตรฐานงานป้องกันและควบคุมโรค* 1. มาตรฐานการควบคุมการระบาด ตัวชี้วัดที่ 1 ความทันเวลาของการได้รับแจ้งเมื่อมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัดที่ 2 ความครบถ้วนของการสอบสวนผู้ป่วยรายแรก (Index case) ของทุกเหตุการณ์ 2. มาตรฐานการควบคุมพาหะนำโรค ตัวชี้วัดที่ 3 ความพร้อมของทีมควบคุมโรค ระดับอำเภอ ตัวชี้วัดที่ 4 ความทันเวลาของการควบคุมแหล่งแพร่โรค ตัวชี้วัดที่ 5 ความครอบคลุมในการควบคุมแหล่งแพร่โรค

ตัวชี้วัดสำคัญ ของงานควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2556 ตัวชี้วัดสำคัญ ของงานควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2556 ระดับจังหวัด 1. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกอย่างน้อยร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2551-2555) 2. อัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกินร้อยละ 0.13

ตัวชี้วัดสำคัญ ของงานควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2556 (ต่อ) ตัวชี้วัดสำคัญ ของงานควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2556 (ต่อ) ระดับอำเภอ/ตำบล 1. คปสอ.มีคะแนนผ่านเกณฑ์ประเมินมาตรฐานงานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก  ร้อยละ 80 (แนวทางของสำนักโรคติดต่อ นำโดยแมลง มี 5 ตัวชี้วัด) 2. มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI/CI) ไม่เกินเกณฑ์ที่กำหนดโดยการสุ่มประเมินของทีมควบคุมโรคร่วมกับ ศตม.ที่ 6.2 อด.(2 ครั้ง/ปี) 3. ความทันเวลาของการส่งรายงานค่า HI/CI  ร้อยละ 80

กรอบการดำเนินงานควบคุมโรคมาลาเรีย ปี 2556 การดำเนินงาน/กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ 1.การวิเคราะห์สถานการณ์ การเฝ้าระวังความผิดปกติของ การเกิดโรคในพื้นที่ งานระบาดวิทยา 2.การศึกษากีฏวิทยาของยุงพาหะมาลาเรีย ศตม.ที่ 6.2 อด. 3.การศึกษากีฏวิทยายุงพาหะในเขตพระราชฐาน 4.รายงานการสอบสวนโรค งานระบาดวิทยาและ คร.

กรอบการดำเนินงานควบคุมโรคเท้าช้าง ปี 2556 การดำเนินงาน/กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ 1.การเฝ้าระวัง รง.506 งานระบาดวิทยา 2.การเฝ้าระวังแรงงานต่างชาติชาวพม่า งาน คร. และสถานบริการสาธารณสุข 3.สัปดาห์รณรงค์กินยาป้องกันโรคเท้าช้างในแรงงานต่างชาติชาวพม่า (เดือน ม.ย.56) สคร.6 ,งาน คร. และสถานบริการสาธารณสุข