เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำสั่งควบคุมในโปรแกรม Interactive C
Advertisements

บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
BC320 Introduction to Computer Programming
โปรแกรมควบคุมเลือกทำตามเงื่อนไข
CS Assembly Language Programming
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 2 Operator and Expression
บทที่ 5 การสอบถามข้อมูลด้วยฟังก์ชั่น สำหรับการคำนวณทางคณิตศาสตร์
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 คำสั่งแบบมีเงื่อนไข Conditional Statements
โครงสร้างควบคุม 1. โครงสร้างควบคุมแบบวนทางเลือก
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
การตวง ความหมายของการตวง -    การตวง    คือ    การวัดปริมาณของสิ่งของต่างๆหรือหาความจุของภาชนะต่างๆ เครื่องตวง -    เครื่องที่เป็นมาตรฐาน    เช่น   
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
Surachai Wachirahatthapong
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข IF Statement
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
อสมการ (Inequalities)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ขั้นตอนการทำงานและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
CPU ไม่รวม I/O PROCESSOR , MATH CO-PROCESSOR
บทที่ 3 การคำนวณทางคณิตศาสตร์ หน่วยประมวลผลทางคณิตศาสตร์และตรรกะ (ALU)
ตัวดำเนินการ(Operator)
Chapter 3 เครื่องหมายและการคำนวณ
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
รายงาน เรื่อง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน
ง40208 การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
นิพจน์และตัวดำเนินการ
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
ตัวดำเนินการในภาษาซี
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
คำสั่งควบคุม การทำงานของโปรแกรม ในภาษา PHP
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
Operators ตัวดำเนินการ
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
บทที่ 6 คำสั่งเงื่อนไข.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
CHAPTER 2 Operators.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C

การดำเนินการในการเขียนโปรแกรมภาษา C มีอยู่ 3 ประเภท  คือ  การคำนวณทางคณิตศาสตร์  การดำเนินการทางตรรกศาสตร์  และการเปรียบเทียบ  ซึ่งการดำเนินการแต่ละประเภทจะมีเครื่องหมายที่ต้องใช้เพื่อเขียนคำสั่งสำหรับการดำเนินการประเภทนั้น ๆ

เครื่องหมายการคำนวณทางคณิตศาสตร์ ความหมาย ตัวอย่าง + บวก 3+2  การบวกเลข 3 บวกกับ 2 ได้ผลลัพธ์คือ 5 - ลบ 3-2 การลบเลข 3 ลบกับ 2 ได้ผลลัพธ์คือ 1 * คูณ 2*3   การคูณเลข 3 บวกกับ 2 ได้ผลลัพธ์คือ 6 / หาร 15/2  การหาร 15 หารกับ 2 ได้ผลลัพธ์คือ 7

เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง ++ เพิ่มค่าขึ้น 1 โดย a++ จะนำค่าของ a ไปใช้ ก่อนแล้วจึงเพิ่มค่าของ a ขึ้น 1 ++a จะเพิ่มค่าของ a ขึ้น 1 ก่อนแล้วจึงนำค่าของ a ไป ใช้ b=a++; จะมีความหมายเทียบเท่ากับ 2 บรรทัดต่อไปนี้ b=a; a=a+1; b=++a; จะมีความหมายเทียบเท่ากับ 2 บรรทัดต่อไปนี้ a=a+1; b=a;

เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง -- ลดค่า 1 โดย a-- จะนำค่าของ a ไปใช้ก่อน แล้วจึงลดค่าของ a ลง 1 --a จะลดค่าของ a ลง 1 ก่อน แล้วจึงนำค่าของ a ไปใช้ b=a--; จะมีความหมายเทียบเท่ากับ 2 บรรทัดต่อไปนี้ b=a; a=a-1; b=--a; จะมีความหมายเทียบเท่ากับ 2 บรรทัดต่อไปนี้ a=a-1; b=a;

ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ ใช้เปรียบเทียบค่า 2 ค่าเพื่อแสดงการเลือก ซึ่งโปรแกรมโดยทั่วไปใช้ในการทดสอบเงื่อนไขตามที่กำหนด การเปรียบเทียบโดยการเท่ากันของ 2 ค่าจะใช้เครื่องหมาย ==

เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง > มากกว่า a > b   a มากกว่า b >== มากกว่าหรือเท่ากับ a >= b a มากกว่าหรือเท่ากับ b < น้อยกว่า a < b   a น้อยกว่า b <== น้อยกว่าหรือเท่ากับ a <= b a น้อยกว่าหรือเท่ากับ b == เท่ากับ a == b a เท่ากับ b != ไม่เท่ากับ a != b  a ไม่เท่ากับ b

ตัวดำเนินการตรรกะ การดำเนินการเปรียบเทียบค่าทางตรรกะ( และ หรือ ไม่) เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง && และ x < 60 && x > 50   กำหนดให้ x มีค่าในช่วง 50 ถึง 60 || หรือ x == 10 || x == 15     กำหนดให้ x มีค่าเท่ากับตัวเลข 2 ค่า คือ 10 หรือ 15 ! ไม่ x = 10  !x  กำหนดให้ x ไม่เท่ากับ 10

การเขียนนิพจน์ในภาษา C นิพจน์ในภาษา C ก็คือ การนำข้อมูลและตัวแปรในภาษามาดำเนินการด้วยเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ ตรรกศาสตร์ หรือเครื่องหมายเปรียบเทียบในภาษา C เป็นตัวสั่งงาน

ตัวอย่าง

ลำดับความสำคัญของเครื่องหมาย ส่วนใหญ่นิพจน์ที่เขียนขึ้นในโปรแกรมมักจะซับซ้อน  มีการดำเนินการหลายอย่างปะปนอยู่ภายในนิพจน์เดียวกัน 

ลำดับความสำคัญจากสูงไปต่ำ 1 ( ) 2 !,++,- - 3 *,/,% 4 +,- 5 <,<=,>,>= 6 = =,!= 7 && 8 || 9 *=,/=,%=,+=,-=

ตัวอย่างการทำงานของโอเปอเรเตอร์ จงหาค่าของนิพจน์  8 + 7 * 6 วิธีทำ 1.  ให้สังเกตที่ตัวโอเปอเรเตอร์ก่อนเสมอว่ามีโอเปอเรเตอร์อะไรบ้าง  ในที่นี้มี + และ * 2.  ทำการไล่ลำดับความสำคัญของโอเปอเรเตอร์ทั้งหมดเปรียบเทียบกัน จากตัวที่มีลำดับความสำคัญสูงสุดไปยังตัวที่มีลำดับสำคับต่ำสุด ลำดับความสำคัญจากสูงไปต่ำ โอเปอเรเตอร์ * +

3. จากข้อ 2 จะได้ลำดับการทำงานเป็นดังนี้ ขั้นที่ 1 7 3. จากข้อ 2 จะได้ลำดับการทำงานเป็นดังนี้ ขั้นที่ 1 7 * 6 = 42 ขั้นที่ 2 8 + ค่าที่ได้จากขั้นที่ 1 = 8 + 42 = 50 ดังนั้น 8 + 7 * 6 = 50

จงหานิพจน์ต่อไปนี้ x*y - 20%z 1) x * y 2) 20%z 3) 1) - 2) (a + b) * 4 = = c%d(e+10) 1) a + b 2) e + 10 3) 1) * 4 4) d * 2) 5) c %4) 6) 3) = = 5) (a - b)*10/c && d + 5 1) a - b 2) 1)*10 3) 2)/c 4) d+5 5) 3) && 4)