จากก้าวแรก EWI สู่การพัฒนางาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานข้อมูล และ เทคโลโลยีสารสนเทศกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์
Advertisements

กลุ่มปลาดาว.
ต้นทุนค่ายา วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
ปัญหาที่นำสู่การพัฒนา
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
PCT กุมารเวชกรรม รพ.เชียงรายฯ
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
1. กลุ่มเป้าหมาย แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่เวช สถิติจากทุกโรงพยาบาล 2. วิธีการพัฒนา เน้นการลงมือปฏิบัติการตรวจสอบ จากแฟ้มผู้ป่วยในจริง โดยเน้น รพ. ชะอำ.
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์อย่างครอบคลุมในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (TUC Care Project) ปี
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ : ประสบการณ์โรงพยาบาลแม่ลาว Mae Lao hospital, Chiang Rai province, Thailand สุทธินีพรหมใจษา วราลักษ์ รัตนธรรม สุภาพรตันสุวรรณ.
การบูรณาการงาน HIV CARE สู่งานพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
การใช้ข้อมูลจากโปรแกรม NAP
การจัดการระบบการดูแลรักษา โดยผู้ประสานงานในโรงพยาบาลห้วยพลู
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
บทเรียน.. การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการ ด้วยรูปแบบ HIVQAUL-T ในเขต 13
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
Adherence ภก. เสถียร วงศ์ใหญ่ โรงพยาบาลโพนพิสัย
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
ผลงานที่ไม่เคยเก็บตัวชี้วัด
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
ใกล้ไกล... ไปเป็นคู่ นายดุรากร จิตรดร เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน คลินิกพิเศษ โรงพยาบาลโพนพิสัย.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ไข้เลือดออก.
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
โรงพยาบาลสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
การลดอัตราการติดเชื้อผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
เทคนิคการจัดการ ความคลาดเคลื่อนทางยาในเครือข่ายบริการปฐมภูมิเขตเมือง
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลชุมชน
หลักธรรมาภิบาลใน WP นพ. ฑิฆัมพร จ่างจิต ผอก. รพ. พาน.
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จากก้าวแรก EWI สู่การพัฒนางาน รพ. ท่าตะโก จังหวัด นครสวรรค์ รพ. ลาดยาว รพ. สปร. ผู้นำเสนอ อารี ฉัตรชัยรัตนเวช สสจ.นครสวรรค์

โรงพยาบาลท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ โดย...คุณธัณย์สิตา อิ่มทรัพย์ หัวหน้ากลุ่มงานเวชปฎิบัติครอบครัวและชุมชน คุณวรรณลักษณ์ สุประดิษฐ์อาภรณ์ HIV-Coordinator และทีมงาน

≥ 90% 81.8 % 72.3 % เกณฑ์เป้าหมาย เริ่ม ART ปี2551(กลุ่มB) EWI 7 Pill count or standardized adherence measure 7a ร้อยละของผู้ที่รับยาต้านไวรัสติดตามในในช่วงเวลาที่กำหนดและพบ Adherence ≥ 100% เกณฑ์เป้าหมาย เริ่ม ART ปี2551(กลุ่มB) ก่อนปี2551(กลุ่มC) ≥ 90% 81.8 % 72.3 % ผลการดำเนินกิจกรรมการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ ในปีงบประมาณ 2553 (ต.ค. 2552 – 20 ส.ค. 2553) มีผู้ติดเชื้อติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ ครบเกณฑ์กินยาต้านไวรัสเอดส์จำนวน 133 ราย ได้รับประทานยาต้านไวรัสเอดส์จำนวน 131 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.50 (เสียชีวิตก่อน 2 ราย ปางศิลาทอง ขาณุวรลักษบุรี) 3 3

การทบทวนงานที่ผ่านมา วิเคราะห์สาเหตุ แนวทางแก้ไข -การบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน (มีการทำแต่ไม่ได้บันทึก Adherence=0) -ระบบการจ่ายยา ARV 1 เดือน โดยร้อยละ 25 ของผู้กินยา ARV ในคลินิกเป็นกลุ่มที่ญาติรับยาแทน เนื่องจากสุขภาพแข็งแรงทำงานต่างจังหวัด ผู้ให้บริการมีโอกาสพบ ผู้กินยา ARV 2-3 ครั้ง/ปี เพื่อมาตรวจ CD4/VL -ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง -ปรับระบบการจ่ายยา ARV 2 เดือน โดยให้ผู้กินยา ARV มารับบริการด้วยตนเองมากขึ้น ผลที่ได้ญาติรับแทนลดลงเหลือ ร้อยละ 6 – 8 -กำหนดรูปแบบการประเมิน Adherence 2 วิธี โดยสัมภาษณ์ และ Visual analogue scale

จำนวนมีพฤติกรรมเสี่ยงมารับการปรึกษา ในปี 2553 จำนวน 11,395 ราย ได้รับการเจาะเลือด 3,544 ราย คิดเป็นร้อยละ 31.10

TFI 1 ร้อยละของผู้เริ่มยาต้านเสียชีวิตในช่วง 12 เดือนแรกหลังเริ่มยา เกณฑ์เป้าหมาย เริ่ม ART ปี2551(กลุ่มB) ก่อนปี2551(กลุ่มC) < 10% 16.7 % 4.5 % ผลการดำเนินกิจกรรมการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ ในปีงบประมาณ 2553 (ต.ค. 2552 – 20 ส.ค. 2553) มีผู้ติดเชื้อติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์ ครบเกณฑ์กินยาต้านไวรัสเอดส์จำนวน 133 ราย ได้รับประทานยาต้านไวรัสเอดส์จำนวน 131 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.50 (เสียชีวิตก่อน 2 ราย ปางศิลาทอง ขาณุวรลักษบุรี) 6 6

การทบทวนงานที่ผ่านมา วิเคราะห์สาเหตุ แนวทางแก้ไข -แพทย์ที่ให้การรักษาเปลี่ยนบ่อย ขาดความเข้าใจ พบมีการจ่ายยาARV โดยไม่ผ่านทีมงานเตรียมความพร้อม / ประเมินสถานะผู้ป่วย เช่นAdmit ป่วยหนัก เป็นต้น -ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง -จัดทำ Flow chat

โรงพยาบาลลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์ โดย...เภสัชกรฉันทิกา ซื่อตรง นางจุไรรัตน์ ภัทรพงศ์บัณฑิตและทีมงาน

Audit OPD card EWI ที่นำมาทบทวนร่วมกัน เพื่อการพัฒนาได้แก่ EWI 6 ARV drug supply continuity

EWI6b ร้อยละของจำนวนเดือนที่พบว่าไม่มีปัญหาการขาดยา first line ARV ตัวใดตัวหนึ่งในปี 2551 เป้าหมาย 100% ผลลัพธ์ที่ได้ 66.7% พราะขาดคราวยา kaletra, RTV (ใช่ first line ใหม่) สาเหตุมาจากมีการนำยาไปใช้กับเด็กที่ดื้อยาและนำไปใช้กับโครงการ HITAP (ทั้งนี้คนไข้ยังมียาใช้อยู่)

Audit OPD card EWI 7 Pill count or standardized adherence measure เป้าหมาย ≥ 90% ผลลัพธ์ที่ได้ 0% ......โอ้แม่เจ้า !

การประเมินใช้การ review จาก OPD card แต่ผล adherence ประเมินและบันทึกลงในแบบบันทึกของเภสัชกร แยกตาม visit เพื่อนำไปคำนวณ adherence ของผู้ป่วยแต่ละปี จึงไม่มีข้อมูลใน OPD card ดังรูป

สาเหตุของปัญหาไม่ได้เขียนให้ชัดเจนลงใน OPD card ว่า adherence เท่าไหร่ จึงไม่มีผู้ป่วยที่มี adherence = 100% จริงๆ แล้ว adherence100%

ข้อเท็จจริง เภสัชกรเก็บข้อมูลรวมไว้แต่ละ visit แล้วนำมาวิเคราะห์ในรอบปี

การพัฒนางาน... บันทึก adherence….% ลงใน OPD card ให้เรียบร้อย มีการประเมินอย่างน้อย 2 วิธี ได้แก่ Pill count (ทุกคนต้องนำยาที่เหลือมาคำนวณหักลบจากยาที่จ่ายให้คราวก่อน แต่โดยมากต้องเหลือแค่ 1 dose ตอนเย็น) Log book (รายใหม่ อ่านออก เขียนได้) Visual analog scale (อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้) Self report (ต้องมีผู้ช่วยเก็บข้อมูล)

ลืมเขียนวิธีการประเมิน (pill count) Audit คราวหน้าคงไม่ได้คะแนนอีก มีกระบวนการ PDCA

ตรงนี้คือ pill count และสัมภาษณ์และทำการเขียน % Adherence กำกับ

ไปทำตรายางมาให้ดูง่ายขึ้น สัมภาษณ์ ไปทำตรายางมาให้ดูง่ายขึ้น Pill count

เภสัชกรเตรียมยาล่วงหน้าตามรายชื่อผู้ป่วย นับจำนวนยามาตามจำนวนวัน ยามีเหลือไม่เกิน 1 dose

ให้ผู้ป่วยนับยาก่อนกลับว่าให้ไปครบ ไม่ขาด ไม่เกิน

ก้าวต่อไปของ EWI จังหวัดนครสวรรค์ รพ. พยุหะคีรี รพ. โกรกพระ ก้าวต่อไปของ EWI จังหวัดนครสวรรค์ รพ. ท่าตะโก สสจ. นครสวรรค์ รูปแบบการทำงาน กฎ 2 “ล” -เล็ก ๆ -แลกเปลี่ยน แบบมีพี่เลี้ยง รพ. ลาดยาว รพ. สปร. รพ. บรรพตพิสัย

ที่ผ่านมาเราทำอะไร อย่างไร รพ.นำร่อง นำเสนอข้อมูล EWI ต่อคณะกรรมการ พัฒนาคุณภาพฯ

ทีมเภสัชกรแลกเปลี่ยนแนวทาง การประเมิน Adherence

สิ่งที่พัฒนาต่อ รพ. นำร่อง EWI และ รพ.ขยายในปี 2555 -เชิญชวนเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ -จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ขยายวงไปยัง รพ.เครือข่าย (กิจกรรมนี้จะไม่ดำเนินการหากซ้ำซ้อนกับ สคร.8)

ขอขอบคุณเบื้องหลังคนสร้างงานทุกๆ ท่าน ที่ไม่สามารถกล่าวถึงได้ทั้งหมด สอวพ. TUC สคร.8. เภสัชกร HIV-Coordinator ขอขอบคุณเบื้องหลังคนสร้างงานทุกๆ ท่าน ที่ไม่สามารถกล่าวถึงได้ทั้งหมด จบแล้วคะ ศอ.8. สปสช. ฯลฯ แกนนำจิตอาสา MCH - AIDS