การสังเกตการณ์ (Observation).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัยแบบกรณีศึกษา (Case Study Research) อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
การศึกษารายกรณี.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ครูบุญชัย กัณตวิสิฐ โรงเรียนกำแพงเพชรพิทยาคม จังหวัดกำแพงเพชร
ครูอิงครัต กังวาลย์ โรงเรียนทุ่งสง
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
เพื่อรับการประเมินภายนอก
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
วิธีการทางสุขศึกษา.
สื่อและสิ่งอำนวยความสะดวกในการฝึกอบรม
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
การแบ่งประเภทของสื่อ
แบบสังเกต (Observation form)
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
โรงเรียนหนองจอกกงลิบฮัวเคียว
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
องค์ประกอบของการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ข้อมูล
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
ผลแห่งความสำเร็จ 3 ห หลักเกณฑ์ หลักการ หลักฐาน.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
วิชาการวิจัยอย่างง่าย
บทบาทสมมติ (Role Playing)
การจัดสารนิทัศน์ (DOCUMENTATION)
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุด ดังนั้นในการจัดการ เรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนาผู้เรียนที่
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
(Demonstration speech)
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
บทที่ 9 การออกแบบวิจัยเชิงพรรณนา : การ สังเกตการณ์
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ จิตวิทยาการเรียนการสอน และการแนะแนว
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสังเกตการณ์ (Observation)

การสังเกตการณ์ (Observation) การสังเกตการณ์เป็นเทคนิคการรวบรวมข้อมูลการวิจัยอย่างหนึ่ง ที่ผู้สังเกตการณ์ใช้สายตาเฝ้าดูหรือศึกษาเหตุการณ์ ปรากฏการณ์ต่าง ๆ เพื่อให้เข้าใจลักษณะธรรมชาติและความเกี่ยวข้องกันระหว่างองค์ประกอบ ต่าง ๆ ของเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์นั้น ๆ

ประเภทของการสังเกตการณ์ แบ่งได้หลายแบบ ขึ้นกับเกณฑ์และทัศนะในการแบ่ง โดยทั่วไปแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ 1. การสังเกตการณ์ทางตรง (Direct Observation) เป็นการสังเกตการณ์ที่ผู้สังเกตการณ์สัมผัสกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยตรงด้วยตนเอง 2. การสังเกตการณ์ทางอ้อม (Indirect Observation) เป็นการสังเกตการณ์ ที่ผู้สังเกตการณ์ไม่ได้เฝ้าดูหรือศึกษาเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์นั้น ๆ โดยตรง แต่จะดูหรือศึกษาจากที่ได้บันทึกมา เช่น จากภาพยนตร์ โทรทัศน์ เทปบันทึกภาพ (วีดีโอ) เป็นต้น

แบ่งตามวิธีการสังเกตการณ์ อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม (Pardcipant Observation) หมายถึง การสังเกตการณ์ที่ผู้สังเกตการณ์เป็นสมาชิกของกลุ่มที่ศึกษา เช่น กรณีที่วิจัยประเพณีวัฒนธรรม หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ในหมู่บ้านของผู้วิจัยเอง

2. การสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม (Non-participant Observation) หมายถึง การสังเกตการณ์ที่ผู้สังเกตการณ์ทำการสังเกตโดยไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมในเหตุการณ์นั้น ๆ เช่นกรณีที่ผู้วิจัยไปสังเกตการณ์เรียนการสอนในชั้นเรียน ผู้วิจัยไม่ได้ทำการสอน และไม่ได้เรียนเหมือนกับผู้เรียน แบบของการสังเกตการณ์ อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. การสังเกตการณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Observation) หมายถึงการสังเกตการณ์ที่ผู้สังเกตการณ์ได้กำหนดเรื่องที่จะสังเกตไว้ล่วงหน้าแน่นอนแล้ว ในการสังเกตการณ์จะศึกษาเฉพาะเรื่องที่ผู้สังเกตการณ์จำกัดขอบเขตไว้แล้ว 2. การสังเกตการณ์แบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Observation) หมายถึงการสังเกตการณ์ที่ผู้สังเกตการณ์ไม่ได้วางแผน หรือกำหนดขอบเขตเฉพาะเรื่องไว้ล่วงหน้าว่าจะศึกษาเรื่องใด

กิจกรรมของครู 1 2 3 4 5 ข้อวิจารณ์ กิจกรรมของนักเรียน ส่วนที่ 1 กิจกรรม (Activities Sections) เป็นกิจกรรมของครู 19 ข้อ กิจกรรมของนักเรียน 25 ข้อ กิจกรรมของครู 1 2 3 4 5 ข้อวิจารณ์ 1. ทำงานกับนักเรียนเป็นรายบุคคล 2. ทำงานกับนักเรียนเป็นกลุ่มเล็ก ๆ 3. ถามคำถามนักเรียน ? 19. ออกและเข้าห้องเวลาสอน กิจกรรมของนักเรียน 1. อ่านหนังสืออยู่ที่โต๊ะ 2. เขียน ปฏิบัติงานทางด้านวิชาการ 3. ระบายสี ตัดภาพ วาด 25. พูดกับผู้มาเยี่ยม

ส่วนที่ 2 วัสดุอุปกรณ์ (Materials Section) จำนวน 10 ข้อ 3 4 5 ข้อวิจารณ์ 1. กระดานดำ ป้ายนิเทศ 2. แผนที่ แผนภูมิ รูปภาพ ? 10. เครื่องมือหัตถศึกษา ศิลปศึกษา

ส่วนที่ 3 การแสดงออก (Sign Section) จำนวน 12 ข้อ 4 5 ข้อวิจารณ์ 1. ครูเคลื่อนไหวอย่างมีอิสระ 2. ครูเคลื่อนไหวอย่างไม่มีอิสระ ? 12. ครูตอบอย่างฉุนเฉียว

การแสดงออกทางพฤติกรรม ส่วนที่ 4 การแสดงออกทางพฤติกรรมอย่างมีความหมาย (Expressive Behaviors) จำนวน 10 ข้อ การแสดงออกทางพฤติกรรม 1 2 3 4 5 ข้อวิจารณ์ 1. ครูมองและแสดงอาการยอมรับนักเรียน 2. ครูกล่าวคำสนับสนุนแก่นักเรียน ? 10. ควบคุม โดยใช้วิธีพูดดีกับนักเรียน

ข้อดีและข้อจำกัดของการสังเกตการณ์ ข้อดีของการสังเกตการณ์ 1. ช่วยให้ได้ข้อมูลที่ไม่สามารถรวบรวมโดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิคอย่างอื่น เช่น กรณีต้องการศึกษาความรู้สึกและพฤติกรรมของทารก เป็นต้น 2. สามารถบันทึกข้อความจริงในระหว่างที่เกิดเหตุการณ์นั้น

ข้อจำกัดของการสังเกตการณ์ 1. การสังเกตการณ์บางครั้งกระทำได้ไม่สะดวก เช่น ที่เกี่ยวกับเรื่องส่วนตัว เป็นต้น 2. การสังเกตการณ์บางครั้งกระทำไม่ได้ทุกแง่ทุกมุม 3. การสังเกตการณ์บางครั้งกระทำไม่ได้ ถ้าหากเหตุการณ์ที่สังเกตไม่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ทำการสังเกต